โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ โรงเรียนบ้านป่างาม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ โรงเรียนบ้านป่างาม ”
โรงเรียนบ้านป่างาม หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอารีย์ จันทร์ทอง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ โรงเรียนบ้านป่างาม
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านป่างาม หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-02-19 เลขที่ข้อตกลง 22/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ โรงเรียนบ้านป่างาม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านป่างาม หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ โรงเรียนบ้านป่างาม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ โรงเรียนบ้านป่างาม " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านป่างาม หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2568-L5179-02-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,515.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เครื่องมือประเมินการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย ซึ่งมีการเก็บข้อมูลเพื่อหาค่าเกณฑ์มาตรฐานการคิดเชิงบริหารของเด็กปฐมวัย ที่สุ่มตัวอย่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั่วทุกภาคของประเทศไทย พบว่า เด็กไทยวัย4 - 6 ปี มีคะแนนพัฒนาการด้านการคิดเชิงบริหาร โดยรวมล่าช้ากว่าเกณฑ์เฉลี่ยเล็กน้อยไปจนถึงล่าช้ามาก ประมาณเกือบ 30% นอกจากนี้ ยังพบว่า เด็กวัย 4 - 6 ปีที่เริ่มมีปัญหาพฤติกรรมด้านการคิดเชิงบริหารมากกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเล็กน้อยจนถึงมีปัญหาอย่างชัดเจน มีมากกว่า 30% เด็กที่มีปัญหาพัฒนาการด้านการคิดเชิงบริหาร จะสัมพันธ์ความยากลำบากในการควบคุมกำกับตนเอง หุนหันพลันแล่น ใจร้อน รอคอยไม่เป็น สมาธิสั้น วอกแวกง่าย และในระยะยาวอาจส่งผลเสียต่อการเรียน การทำงาน การอยู่ร่วมกับผู้อื่น ยิ่งไปกว่านั้นพฤติกรรมการคิดเชิงบริหารมีความเกี่ยวข้องกับโรคทางจิตเวช เช่น โรคซน สมาธิสั้น ย้ำคิดย้ำทำ ซึมเศร้า ประพฤติผิดปกติ เกเรอันธพาล เป็นต้น เด็กในวัย 4 - 6 ปี ธรรมชาติของเด็กจะเรียนรู้ผ่านการเคลื่อนไหว การทำกิจกรรมต่างๆ ซึ่งโดยปกติในช่วงเช้าที่สถานศึกษาจะมีกิจกรรมให้เด็กๆ ได้ทำการเคลื่อนไหวเข้าจังหวะประมาณ 20 นาที เพื่อทำให้ร่างกายของเด็กพร้อมที่จะเรียนหนังสือ ทำกิจกรรมในห้องเรียนได้อย่างคล่องแคล่ว ดังนั้น การเตรียมความพร้อม และพัฒนาร่างกายของเด็กให้เจริญเติบโตแข็งแรง จึงเป็นสิ่งสำคัญในชีวิตประจำวันสำหรับเด็ก โดยครูจะเป็นผู้หากิจกรรมเล่นกับเด็กๆ ไม่ว่าจะเป็นการทรงตัว การเดิน การวิ่ง การกระโดด การคลาน การนอน การเอียงตัว ฯลฯ เพราะจะช่วยให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงเพิ่มขึ้น และยังช่วยเสริมสร้างการประสานงานของระบบประสาทส่วนกลางกับกล้ามเนื้อ ส่งผลให้มือ เท้า ตา เคลื่อนไหว สัมพันธ์กัน
ดังนั้น เพื่อส่งเสริม และพัฒนาให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง เติบโตสมวัย ส่งผลต่อพัฒนาการดี และเติบโตเป็นพลเมืองคุณภาพ เป็นกำลังในการพัฒนาประเทศชาติ โรงเรียนบ้านป่างาม จึงได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก
- ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยจักรยานขาไถ
- ประเมินพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ
- กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
32
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านอารมณ์จิตใจ และด้านสติปัญญา
- เด็กได้ออกกำลังกาย และมีร่างกายแข็งแรง มีอารมณ์เบิกบาน สุนกสนาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงาน
วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงาน เพื่อร่วมวางแผนการทำงาน และดำเนินกิจกรรมร่วมกัน
งบประมาณ
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 5 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 175 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะทำงานดำเนินโครงการ เข้าใจแผนการดำเนินงาน และได้ทราบแผนการดำเนินงานร่วมกัน
5
0
2. จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก
วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก เพื่อให้เด็กฝึกพัฒนาการด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถได้อย่างปลอดภัย
งบประมาณ
- ไม่มีค่าใช้จ่าย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างสุขนิสัย และสุขภาพเด็กปฐมวัย
32
0
3. ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยจักรยานขาไถ
วันที่ 20 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ฝึกพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ จำนวน 5 วัน/สัปดาห์ ทุกวันจันทร์ - วันศุกร์ วันละ 60 นาที
งบประมาณ
- ค่าจักรยานขาไถ พร้อมอุปกรณ์ป้องกัน (อุปกรณ์ป้องกัน: มือ เข่า ข้อศอก หมวก)
จำนวน 7 คันๆ ละ 900 บาท เป็นเงิน 6,300 บาท
- ค่าไวนิลโครงการ ขนาด 1.2x3 ม. ตารางเมตรละ 150 บาท เป็นเงิน 540 บาท
- กรวยจราจร จำนวน 6 อันๆ ละ 450 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท
- สีสำหรับทาตีเส้น เป็นเงิน 500 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างสุขนิสัยและสุขภาพเด็กปฐมวัย
32
0
4. ประเมินพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ
วันที่ 24 กรกฎาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประเมินพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ โดยการให้เด็กๆ ถีบจักรยานขาไถในห้องเรียน สังเกตพัฒนาการของเด็กถีบจักรยานขาไถได้หรือไม่
งบประมาณ
- ไม่มีค่าใช้จ่าย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ผลประเมินพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ
32
0
5. กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
วันที่ 26 กรกฎาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
งบประมาณ
- ค่าเล่มรายงาน จำนวน 2 เล่มๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 300 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
5
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กปฐมวัย 4 - 6 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน)
85.24
95.31
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
32
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
32
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก (3) ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยจักรยานขาไถ (4) ประเมินพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ (5) กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ โรงเรียนบ้านป่างาม จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-02-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอารีย์ จันทร์ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ โรงเรียนบ้านป่างาม ”
โรงเรียนบ้านป่างาม หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอารีย์ จันทร์ทอง
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านป่างาม หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-02-19 เลขที่ข้อตกลง 22/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ โรงเรียนบ้านป่างาม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านป่างาม หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ โรงเรียนบ้านป่างาม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ โรงเรียนบ้านป่างาม " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านป่างาม หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2568-L5179-02-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,515.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เครื่องมือประเมินการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย ซึ่งมีการเก็บข้อมูลเพื่อหาค่าเกณฑ์มาตรฐานการคิดเชิงบริหารของเด็กปฐมวัย ที่สุ่มตัวอย่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั่วทุกภาคของประเทศไทย พบว่า เด็กไทยวัย4 - 6 ปี มีคะแนนพัฒนาการด้านการคิดเชิงบริหาร โดยรวมล่าช้ากว่าเกณฑ์เฉลี่ยเล็กน้อยไปจนถึงล่าช้ามาก ประมาณเกือบ 30% นอกจากนี้ ยังพบว่า เด็กวัย 4 - 6 ปีที่เริ่มมีปัญหาพฤติกรรมด้านการคิดเชิงบริหารมากกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเล็กน้อยจนถึงมีปัญหาอย่างชัดเจน มีมากกว่า 30% เด็กที่มีปัญหาพัฒนาการด้านการคิดเชิงบริหาร จะสัมพันธ์ความยากลำบากในการควบคุมกำกับตนเอง หุนหันพลันแล่น ใจร้อน รอคอยไม่เป็น สมาธิสั้น วอกแวกง่าย และในระยะยาวอาจส่งผลเสียต่อการเรียน การทำงาน การอยู่ร่วมกับผู้อื่น ยิ่งไปกว่านั้นพฤติกรรมการคิดเชิงบริหารมีความเกี่ยวข้องกับโรคทางจิตเวช เช่น โรคซน สมาธิสั้น ย้ำคิดย้ำทำ ซึมเศร้า ประพฤติผิดปกติ เกเรอันธพาล เป็นต้น เด็กในวัย 4 - 6 ปี ธรรมชาติของเด็กจะเรียนรู้ผ่านการเคลื่อนไหว การทำกิจกรรมต่างๆ ซึ่งโดยปกติในช่วงเช้าที่สถานศึกษาจะมีกิจกรรมให้เด็กๆ ได้ทำการเคลื่อนไหวเข้าจังหวะประมาณ 20 นาที เพื่อทำให้ร่างกายของเด็กพร้อมที่จะเรียนหนังสือ ทำกิจกรรมในห้องเรียนได้อย่างคล่องแคล่ว ดังนั้น การเตรียมความพร้อม และพัฒนาร่างกายของเด็กให้เจริญเติบโตแข็งแรง จึงเป็นสิ่งสำคัญในชีวิตประจำวันสำหรับเด็ก โดยครูจะเป็นผู้หากิจกรรมเล่นกับเด็กๆ ไม่ว่าจะเป็นการทรงตัว การเดิน การวิ่ง การกระโดด การคลาน การนอน การเอียงตัว ฯลฯ เพราะจะช่วยให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงเพิ่มขึ้น และยังช่วยเสริมสร้างการประสานงานของระบบประสาทส่วนกลางกับกล้ามเนื้อ ส่งผลให้มือ เท้า ตา เคลื่อนไหว สัมพันธ์กัน ดังนั้น เพื่อส่งเสริม และพัฒนาให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง เติบโตสมวัย ส่งผลต่อพัฒนาการดี และเติบโตเป็นพลเมืองคุณภาพ เป็นกำลังในการพัฒนาประเทศชาติ โรงเรียนบ้านป่างาม จึงได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก
- ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยจักรยานขาไถ
- ประเมินพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ
- กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 32 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านอารมณ์จิตใจ และด้านสติปัญญา
- เด็กได้ออกกำลังกาย และมีร่างกายแข็งแรง มีอารมณ์เบิกบาน สุนกสนาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงาน |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงาน เพื่อร่วมวางแผนการทำงาน และดำเนินกิจกรรมร่วมกัน งบประมาณ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะทำงานดำเนินโครงการ เข้าใจแผนการดำเนินงาน และได้ทราบแผนการดำเนินงานร่วมกัน
|
5 | 0 |
2. จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก เพื่อให้เด็กฝึกพัฒนาการด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถได้อย่างปลอดภัย งบประมาณ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างสุขนิสัย และสุขภาพเด็กปฐมวัย
|
32 | 0 |
3. ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยจักรยานขาไถ |
||
วันที่ 20 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำฝึกพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ จำนวน 5 วัน/สัปดาห์ ทุกวันจันทร์ - วันศุกร์ วันละ 60 นาที งบประมาณ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างสุขนิสัยและสุขภาพเด็กปฐมวัย
|
32 | 0 |
4. ประเมินพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ |
||
วันที่ 24 กรกฎาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประเมินพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ โดยการให้เด็กๆ ถีบจักรยานขาไถในห้องเรียน สังเกตพัฒนาการของเด็กถีบจักรยานขาไถได้หรือไม่ งบประมาณ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ผลประเมินพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ
|
32 | 0 |
5. กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ |
||
วันที่ 26 กรกฎาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ งบประมาณ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นรายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
|
5 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กปฐมวัย 4 - 6 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน) |
85.24 | 95.31 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 32 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 32 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก (3) ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยจักรยานขาไถ (4) ประเมินพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ (5) กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ โรงเรียนบ้านป่างาม จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-02-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอารีย์ จันทร์ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......