กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสร้างชีวิต สร้างภูมิคุ้มกันสู่วัยรุ่น ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสาววรรณรัตน์ ชัยวิเศษ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา




ชื่อโครงการ โครงการสร้างชีวิต สร้างภูมิคุ้มกันสู่วัยรุ่น

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1485-2-22 เลขที่ข้อตกลง 21/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างชีวิต สร้างภูมิคุ้มกันสู่วัยรุ่น จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างชีวิต สร้างภูมิคุ้มกันสู่วัยรุ่น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างชีวิต สร้างภูมิคุ้มกันสู่วัยรุ่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-2-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,945.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงเร็วและเตรียมพร้อมสำหรับการดำเนินชีวิตในอนาคต คือทำอย่างไรให้วัยรุ่นไทยมีความสามารถในการแก้ปัญหาที่ต้องเผชิญในชีวิตประจำวันเพื่อให้อยู่รอดปลอดภัย และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข เพื่อให้วัยรุ่นไทยมีโอกาสปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีความเข้มแข็งในการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถเรียนรู้ มีทัศนคติ และปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพสุขภาพได้อย่างต่อเนื่องยาวนานจนสามารถเอาชนะอุปสรรคภายในบุคคล และฝังแน่นกลายเป็นนิสัยเพื่อสุขภาพที่แข็งแรง มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความสุขมากขึ้น และเลือกทางเดินชีวิตที่เหมาะสมเพื่อที่จะสามารถเผชิญปัญหาต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวในสภาพสังคมปัจจุบันและเตรียมพร้อมสำหรับอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากสภาพปัญหาของโรงเรียนคันธพิทยาคารที่ผ่านมา ด้วยภูมิอากาศในการจัดการเรียนการสอนทำให้นักเรียนเกิดอาการเป็นลมหรือ โรคลมแดด เกิดจากร่างกายที่ได้รับความร้อน และไม่สามารถระบายความร้อนออกจากร่างกายหรือปรับตัวได้ทัน จนเกิดภาวะโรคลมแดด ซึ่งมีความจำเป็นต่อการรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นก่อนนำนักเรียนส่งโรงพยาบาลและนักเรียนมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ของก่อนวัยที่เหมาะสม นักเรียนไม่มีทักษะการป้องกันตัวเอง และไม่กล้าที่จะปรึกษาผู้ปกครองหรือครูที่ปรึกษา การจัดโครงการสร้างชีวิต สร้างภูมิคุ้มกันสู่วัยรุ่น ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวในข้างต้น จึงจัดอบรมโครงการ    สร้างชีวิต สร้างภูมิคุ้มกันสู่วัยรุ่น เพื่อให้นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาล สามารถช่วยเหลือในเบื้องต้นได้อย่างถูกต้องก่อนนำส่งสถานพยาบาลต่อไป และฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการวัยใส ใส่ใจสุขภาพ เพื่อให้นักเรียน เยาวชนได้เรียนรู้เรื่องเพศศึกษา และพัฒนาการทางเพศของตนเอง โดยให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการคิด มีการเรียนรู้โดยใช้กลุ่มเพื่อน เปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ฝึกให้เยาวชนได้คิดถึงปัญหาทางเพศ การแก้ไขและการป้องกันปัญหา ในการนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาโรงเรียนคันธพิทยาคาร ได้จัดการเรียนการสอนวิชาสุขศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 จึงได้จัดทำโครงการสร้างชีวิต สร้างภูมิคุ้มกันสู่วัยรุ่น เพื่อให้นักเรียนใช้ทักษะชีวิต ทักษะในการปฐมพยาบาลหรือการช่วยชีวิตเบื้องต้น รู้จักการเอาตัวรอด รู้จักป้องกันตนเองจากพฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องถูกวิธีและดำรงชีวิตของนักเรียนได้อย่างมีความสุขเหมาะสมตามวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล
  2. เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาลในกรณีฉุกเฉินต่างๆ ให้แก่นักเรียนเข้ารับการอบรม
  3. เพื่อให้นักเรียน เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่ วัยรุ่น
  4. เพื่อให้นักเรียน เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
  5. เพื่อให้นักเรียน เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างควาภาคภูมิใจ ในตนเอง
  6. เพื่อให้นักเรียนนำทักษะชีวิตไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องถูกวิธีและดำรงชีวิตของนักเรียนได้อย่างมีความสุขเหมาะสมตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
    กลุ่มวัยทำงาน 2
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    8.1 นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล
    8.2 การลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาลในกรณีฉุกเฉินต่างๆ ให้แก่นักเรียนเข้ารับการอบรม 8.3 นักเรียน เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น 8.4 นักเรียน เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ 8.5 นักเรียน เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจ
    ในตนเอง 8.6 นักเรียนนำทักษะชีวิตไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องถูกวิธีและดำรงชีวิตของนักเรียนได้อย่างมีความสุขเหมาะสมตามวัย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาลในกรณีฉุกเฉินต่างๆ ให้แก่นักเรียนเข้ารับการอบรม
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้นักเรียน เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่ วัยรุ่น
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อให้นักเรียน เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
    ตัวชี้วัด :

     

    5 เพื่อให้นักเรียน เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างควาภาคภูมิใจ ในตนเอง
    ตัวชี้วัด :

     

    6 เพื่อให้นักเรียนนำทักษะชีวิตไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องถูกวิธีและดำรงชีวิตของนักเรียนได้อย่างมีความสุขเหมาะสมตามวัย
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 62
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
    กลุ่มวัยทำงาน 2
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น  สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล (2) เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาลในกรณีฉุกเฉินต่างๆ ให้แก่นักเรียนเข้ารับการอบรม (3) เพื่อให้นักเรียน เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่ วัยรุ่น (4) เพื่อให้นักเรียน เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ (5) เพื่อให้นักเรียน เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างควาภาคภูมิใจ ในตนเอง (6) เพื่อให้นักเรียนนำทักษะชีวิตไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องถูกวิธีและดำรงชีวิตของนักเรียนได้อย่างมีความสุขเหมาะสมตามวัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างชีวิต สร้างภูมิคุ้มกันสู่วัยรุ่น จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 68-L1485-2-22

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาววรรณรัตน์ ชัยวิเศษ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด