กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กแรกเกิด- 5 ปี แบบบูรณาการ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุปราณี มะอุเซ็ง




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กแรกเกิด- 5 ปี แบบบูรณาการ ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2489-1- เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กแรกเกิด- 5 ปี แบบบูรณาการ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กแรกเกิด- 5 ปี แบบบูรณาการ ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กแรกเกิด- 5 ปี แบบบูรณาการ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2489-1- ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กแรกเกิด-5 ปี เป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิตเป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ได้แก่ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม การเลี้ยงดูที่เหมาะสมทำให้เด็กมีสุขภาพดีพัฒนาการดีส่งผลต่อการเจริญเติบโตทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ไปพร้อมๆกัน การเลี้ยงเด็กให้มีคุณภาพถือมีความสำคัญยิ่งจึงจำเป็นที่ต้องดูแลเด็กอย่างถูกต้องและมีมาตรฐาน ครอบคลุมตั้งแต่เรื่องการส่งเสริมสุขภาพทั้งในเรื่องครอบครัว การเจริญเติบโตการพัฒนาการ การดูแลสุขภาพในช่องปาก การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตลอดจนการดูแลความปลอดภัยและป้องกันอุบัติเหตุต่างๆ เด็กที่เป็นโรคและขาดสารอาหาร มีแนวโน้มที่จะเจ็บป่วยส่งผลให้การเจริญเติบโตหยุดชะงักทำให้เกิดภาวะเตี้ยรวมทั้งพัฒนาการล่าช้าลดทอนการเรียนรู้ในวัยเด็กและพัฒนาการทางด้านสมองหากเด็กมีการขาดสารอาหารเรื้อรังจนมีภาวะเตี้ยขั้นรุนแรงจะส่งผลให้มีระดับสติปัญญาในช่วงวัยเรียนต่ำกว่าเด็กที่ไม่มีภาวะเตี้ยซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาและโอกาสที่ดีในอนาคต เด็กแรกเกิด-72 เดือน เป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญ ของชีวิตเป็นวัยรากฐานของพัฒนาการเจริญเติบโตทั้งร่างกายจิตใจอารมณสังคมและสติปัญญาจึงเป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุด ในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะในระยะ2 ปีแรกของชีวิตเป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาในเด็กแรกเกิด-72เดือนเด็กที่ขาดสารอาหาร มีแนวโน้มที่จะเจ็บป่วยส่งผลให้การเจริญเติบโตหยุดชะงักทำให้เกิดภาวะเตี้ยรวมทั้งพัฒนาการล่าช้าลดทอนการเรียนรู้ในวัยเด็กและพัฒนาการทางด้านสมองหากเด็กมีการขาดสารอาหารเรื้อรังจนมีภาวะเตี้ยขั้นรุนแรงจะส่งผลให้มีระดับสติปัญญาในช่วงวัยเรียนต่ำกว่าเด็กที่ไม่มีภาวะเตี้ยซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาและโอกาสที่ดีในอนาคต โดยภาวะเตี้ย,ภาวะผอม,รูปร่างดีสมส่วน (ไม่เกินร้อยละ 9 ,5 และไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ) พบว่าเด็กในตำบลบาเระเหนือ ภาวะเตี้ย,ภาวะผอม,รูปร่างดีสมส่วน ร้อยละ 11.02 ,8.92 ,ร้อยละ 43.04 ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าอายุ 1-3 ปี มีปัญหาสุขภาพช่องปาก คือ พบฟันน้ำนมผุ 165 ราย(64.70%) อีกทั้งยังพบการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเด็ก และอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุของเด็กอายุเด็กแรกเกิด-5 ปี ยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด(95%) คือ เด็กอายุครบ 1 ปี,2 ปี,3 ปี และ 5 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์เท่ากับร้อยละ 56.72, 33.33,42.71 และ 28.09 ตามลำดับ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องการดูแลอาหารและโภชนาการที่ดีสำหรับเด็ก การกระตุ้นพัฒนาการเด็ก การดูแลสุขภาพในช่องปาก ตลอดจนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในทุกช่วงวัย ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโต พัฒนาการ และสุขภาพในที่สุด ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเระเหนือ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพในเด็กแรกเกิด-5 ปีแบบบูรณาการ ในเรื่องของการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ การดูแลสุขภาพในช่องปาก และการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจรวมทั้งเสริมสร้างความตระหนักให้กับแกนนำและภาคีเครือข่ายเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังเลี้ยงดูเด็กได้อย่างถูกวิธีปลอดจากโรคภัย ไข้ เจ็บ มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง พัฒนาการที่ดี สมวัย และมีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายที่เหมาะสม เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กแรกเกิด- 5 ปีแบบบูรณาการ ปีงบประมาณ2568

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้แกนนำ/ภาคีเครือข่าย/ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด-5ปี มีความรู้ที่ถูกต้องตระหนักในการพาบุตรหลานมารับบริการฉีดวัคซีน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และไม่มีอัตราป่วยตายจากโรคหัดระบาด
  2. เพื่อให้แกนนำ/ภาคีเครือข่าย/ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก มีทักษะและสามารถแปรงฟันให้เด็ก 1-3 ปี ได้อย่างถูกต้องและได้รับบริการทาฟลูออไรด์วานิชป้องกันฟันผุ
  3. เพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจแก่แกนนำ/ภาคีเครือข่ายผู้ปกครองเด็กแรกเกิด -72 เดือน ในการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ(น้อยกว่าเกณฑ์ เตี้ย ผอม ค่อนข้างน้อยกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างเตี้ย ค่อนข้างผอม)และได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน และมีพัฒนาการที่ดี สมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แกนนำ/ภาคีเครือข่าย/ผู้ปกครองเด็ก
  2. อบรมให้ความรู้แกนนำ/ภาคีเครือข่าย/ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด-5ปี จำนวน 7 หมู่ๆละ 50 คน(เป้าหมาย 350 คน/จัดอบรม 7 รุ่นๆละ 50 คน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

แกนนำ/ภาคีเครือข่าย/ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเฝ้าระวัง/การดูแลเลี้ยงดูเด็กได้อย่างถูกวิธีปลอดจากโรค มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง พัฒนาการที่ดี สมวัย และมีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายที่เหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แกนนำ/ภาคีเครือข่าย/ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด-5ปี มีความรู้ที่ถูกต้องตระหนักในการพาบุตรหลานมารับบริการฉีดวัคซีน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และไม่มีอัตราป่วยตายจากโรคหัดระบาด
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กอายุครบ 1 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ข้อที่ 2. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กอายุครบ 2 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ข้อที่ 3. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กอายุครบ 3 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ข้อที่ 4. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กอายุครบ 5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ข้อที่ 5. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กอายุแรกเกิด- 5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

 

2 เพื่อให้แกนนำ/ภาคีเครือข่าย/ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก มีทักษะและสามารถแปรงฟันให้เด็ก 1-3 ปี ได้อย่างถูกต้องและได้รับบริการทาฟลูออไรด์วานิชป้องกันฟันผุ
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1.ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กมีความรูและสามารถดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 1-3 ปีได้ถูกต้องร้อยละ 80 ข้อที่ 2.เด็กอายุ 1-3 ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและฟันและได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชร้อยละ 60

 

3 เพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจแก่แกนนำ/ภาคีเครือข่ายผู้ปกครองเด็กแรกเกิด -72 เดือน ในการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ(น้อยกว่าเกณฑ์ เตี้ย ผอม ค่อนข้างน้อยกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างเตี้ย ค่อนข้างผอม)และได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน และมีพัฒนาการที่ดี สมวัย
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1.เด็กแรกเกิด-72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ ≥ร้อย 90 ข้อที่ 2.น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ในเด็กแรกเกิด-72 เดือน ไม่เกินน้อยละ ข้อที่ 3.เด็กแรกเกิด-72 เดือน มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ข้อที่ 4.เด็กแรกเกิด-72 เดือน มีพัฒนาการตามวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 86 ข้อที่ 5.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการร้อยละ 90 ข้อที่ 6.เด็กแรกเกิด-72 เดือน มีภาวะเตี้ย ≤ร้อยละ 9 ข้อที่ 7.เด็กแรกเกิด-72 เดือน มีภาวะผอม ≤ร้อยละ 5

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำ/ภาคีเครือข่าย/ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด-5ปี มีความรู้ที่ถูกต้องตระหนักในการพาบุตรหลานมารับบริการฉีดวัคซีน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และไม่มีอัตราป่วยตายจากโรคหัดระบาด (2) เพื่อให้แกนนำ/ภาคีเครือข่าย/ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก มีทักษะและสามารถแปรงฟันให้เด็ก 1-3 ปี ได้อย่างถูกต้องและได้รับบริการทาฟลูออไรด์วานิชป้องกันฟันผุ (3) เพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจแก่แกนนำ/ภาคีเครือข่ายผู้ปกครองเด็กแรกเกิด -72 เดือน ในการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ(น้อยกว่าเกณฑ์ เตี้ย ผอม ค่อนข้างน้อยกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างเตี้ย ค่อนข้างผอม)และได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน และมีพัฒนาการที่ดี สมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แกนนำ/ภาคีเครือข่าย/ผู้ปกครองเด็ก (2) อบรมให้ความรู้แกนนำ/ภาคีเครือข่าย/ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด-5ปี จำนวน 7 หมู่ๆละ 50  คน(เป้าหมาย 350 คน/จัดอบรม 7 รุ่นๆละ 50 คน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กแรกเกิด- 5 ปี แบบบูรณาการ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2489-1-

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุปราณี มะอุเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด