กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการมหัศจรรย์ 2500 วันแรกของชีวิต สู่ Smart mom & Smart kids ”
ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายอาดือนัน สาและ (ผอ.รพ.สต.มะนังดาลำ)




ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 2500 วันแรกของชีวิต สู่ Smart mom & Smart kids

ที่อยู่ ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3059-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหัศจรรย์ 2500 วันแรกของชีวิต สู่ Smart mom & Smart kids จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ 2500 วันแรกของชีวิต สู่ Smart mom & Smart kids



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ 2500 วันแรกของชีวิต สู่ Smart mom & Smart kids " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3059-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 93,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ ลดความเหลื่อมล้ำของสังคม เพิ่มการกระจายรายได้ และพัฒนาการให้บริการทางสังคมที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและขับเคลื่อนประเทศสู่เศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2564 – 2570 คือเด็กปฐมวัยทุกคน ต้องได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้านเต็มตามศักยภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมระดมทรัพยากรที่เพียงพอ ต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับพร้อมส่งต่อพลเมืองคุณภาพของชาติ ซึ่ง “2,500 วันแรกของชีวิต” ถือเป็นต้นน้ำของการสร้างรากฐานการมีภาวะสุขภาพที่ตลอดช่วงชีวิต โดยเริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์มารดา จนถึงอายุ 5 ปี ซึ่งนับว่าเป็นโอกาสทองของการสร้างทุนมนุษย์ที่สำคัญและคุ้มค่ากับการลงทุนมากที่สุด เนื่องจากเป็นช่วงที่สมองมีการพัฒนาสูงสุด ทั้งการสร้างเซลล์สมองและการเชื่อมโยงเซลล์สมองกับโครงข่ายเส้นใยประสาท ทำให้เด็กมีความสามารถในการเรียนรู้จดจำและมีการเจริญเติบโตด้านร่างกายอย่างรวดรวด ส่วนสูงของเด็กที่อายุ 2 – 3 ปี ถือเป็น Proxy indicator ของสุขภาพผู้ใหญ่และเป็นทุนมนุษย์ที่สำคัญ เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กปฐมวัยให้ต่อเนื่องจนถึงอายุ 5 ปี
        จากผลการดำเนินงานตำบลมะนังดาลำ ในปี 2567 ในการพัฒนางานคลินิกฝากคครภ์ มีจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 46.7 (เป้าหมาย < ร้อยละ 14) ,หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพ ร้อยละ 60 (เป้าหมาย > ร้อยละ 75) ,ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 12.5 (เป้าหมาย < ร้อยละ) และในการพัฒนางานด้านคลินิกเด็กสุขภาพเด็กดี ทารกแรกเกิด - 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 50 (เป้าหมาย > ร้อยละ 50) ,ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 61.10 (เป้าหมาย > ร้อยละ 64) ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 97.06 ,ร้อยละเด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ ร้อยละ 83.3 ซึ่งในภาพร่วมแล้วการดำเนินงานดังกล่าวยังคงเป็นปัญหาในพื้นที่และไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดตามกำหนด           โดยกลุ่มพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ เพื่อดูแลสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด – 5 ปี ให้มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีพร้อมส่งต่อทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพ โดยมีชุมชนท้องถิ่น และภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่ร่วมส่งเสริมกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน การพัฒนาคุณภาพสถานบริการสาธารณสุข ทั้งคลินิกฝากครรภ์และคลินิกเด็กสุขภาพดี เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับบริการครบถ้วนและดูแลอย่างทั่วถึง โดยมาตรการต้นทางที่จะทำให้ 2,500 วันแรกของชีวิตมีคุณภาพ ในด้านมิติการลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ ,ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนและการส่งเสริมช่องปากและฟันเด็กให้ปราศจากฟันผุให้ดีขึ้นตามลำดับนั้น           จึงดำเนินการขับเคลื่อน “ตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน” ภายใต้โครงการมหัศจรรย์ 2500 วันแรกของชีวิต สู่ Smart mom & Smart kids ซึ่งเป็นกลไกที่ มุ่งหวังให้เกิดการบูรณาการความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อให้เด็ก ปฐมวัยมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ พัฒนาการสมวัย และมีคุณภาพชีวิตที่ดี พร้อมส่งต่อทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. มีระบบเฝ้าระวังและคุณภาพการจัดบริการ สาธารณสุขที่ได้มาตรฐาน 2. มีระบบขับเคลื่อนการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่เป็นรูปธรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม ตำบลมหัศจรรย์ 2500 แรกของชีวิต สู่ Smart mom & Smart kids
  2. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการแก่ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ จัดขึ้นเพื่อชี้แจงรายละเอียดของโครงการ รับทราบแนวทางการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ และเตรียมความพร้อมในการดำเนินกิจกรรมแต่ละกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 350
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 350
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด เด็กแรกเกิด ผ่านกลไกการ ขับเคลื่อนตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน โดยมีการดูแลอย่างต่อเนื่อง ครอบคลุม และมีคุณภาพ ทั้งระบบบริการสาธารณสุข ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศักยภาพมนุษย์
    ๒. หญิงตั้งครรภ์ พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรอบรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและเด็กได้อย่างมี คุณภาพ เหมาะสมตามบริบทพื้นที่ โดยอาศัยการบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
    ๓. บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข และภาคีเครือข่ายได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะ กลไกลการ ดำเนินงาน ระบบบริการสาธารณสุข การส่งเสริม เฝ้าระวัง ดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และเด็ก 0-5 ปี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. มีระบบเฝ้าระวังและคุณภาพการจัดบริการ สาธารณสุขที่ได้มาตรฐาน 2. มีระบบขับเคลื่อนการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่เป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง น้อยกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 14 2. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพ มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 75 3. ทารกแรกเกิด - 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 50 4. เด็กอายุ ๐-๕ ปี สูงดีสมส่วน มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 64 5. เด็กอายุ ๐ - ๕ ปี มีพัฒนาการสมวัย มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ ๘0 6. เด็กอายุ ๓ ปี ที่ได้รับการตรวจฟัน ปราศจากฟันผุ (Caries Free) ไม่เกินร้อยละ 50

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 790
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 350
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 350
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. มีระบบเฝ้าระวังและคุณภาพการจัดบริการ สาธารณสุขที่ได้มาตรฐาน 2. มีระบบขับเคลื่อนการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่เป็นรูปธรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม ตำบลมหัศจรรย์ 2500 แรกของชีวิต สู่ Smart mom & Smart kids (2) กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการแก่ภาคีเครือข่ายในพื้นที่                จัดขึ้นเพื่อชี้แจงรายละเอียดของโครงการ รับทราบแนวทางการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ และเตรียมความพร้อมในการดำเนินกิจกรรมแต่ละกิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหัศจรรย์ 2500 วันแรกของชีวิต สู่ Smart mom & Smart kids จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3059-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาดือนัน สาและ (ผอ.รพ.สต.มะนังดาลำ) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด