โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก
ชื่อโครงการ | โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก |
รหัสโครงการ | 2568-L4139-02-10 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมรักษ์สุขภาพ |
วันที่อนุมัติ | 21 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 15 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 22,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางพารีฆ๊ะ ดอเลาะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.597,101.283place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทยและมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น โรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศ ไทย คือ โรคมะเร็งตับ รองลงมาคือมะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมตามลำดับ ไมประเทศไทย โรคมะเร็งปากมดลูกเป็น โรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดอาธุระหว่างอายุ 45-50 ปี ระยะที่ พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม การรักษาจึงเป็นไปใด้ยาก ต้องเสียค่าใช่จ่ายในการรักษาสูง การป้องกัน และควบคุมโรคมะเร็งปาก มดลูก ต้องมีการค้บหา โดยการตรวจพาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก และในระยะก่อนเป็นมะเร็ง ซึ่งสามารถรักษาให้ ะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม ปัจจุบัน มีวิธีการตรวจแบบเจาะลึกระดับ DNA ด้วยเทห ng' ที่สามารถค้นหาเชื่อเอชพีวีอย่างแม่นยำตั้งแต่ระยะแรก ทำให้สามารถรักษาได้ทันท่วงที ก่อนที่เชื้อจะข มดลูกและการคัดกรองด้วยการทำ HPV DNA Testing ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ทำให้ช่วยลลดอัตราการ อัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ เนื่องจากโรคมะเร็งเป็นโรคที่เป็นแล้วจะทำให้เกิดอาการป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอัน สมควร ซึ่งผู้ป่วยที่ไปรับการรักษาพยาบาลส่วนใหญ่มักจะไปรับการรักษาเมื่ออยู่ในระยะที่เป็นมากแล้ว ทำให้ผลการรักษาไม่ได้ผลลี เท่าที่ควรแต่ในขณะเดียวกันโรคมะเร็งเป็นโรคหนึ่งที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ถ้าหากว่าได้รับการตรวจวินิจฉัยและมาพบแพทย์ ตั้งแต่ในระยะเริ่มแรก ปัจจุบันสตรีจำนวนไม่ไม่น้อยที่ยังขาดความรู้ในเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จากการดำเนินงาม คัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-60 ปี ปีจบประมาณ 2567 สตรีอายุ30-60 ปี จำนวนทั้งหมด 441 คน ได้รับการตรวจ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยวิธีการHPHPV DNA Testing' จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 7.71 ผลการตรวจปกติทุกคน และสตรีอายุ 30- 70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองเต้านมด้วยเจ้าหน้าที่ และด้วยตนเอง ปึงประมาณ 2567 จำนวน 564 คน คน ได้รับการตรวจคัด กรองมะเร็งเค้านมจำนวน 466 คน คิดเป็นร้อยละ 83.51 ได้รับการส่งต่อจำนวน 5 คน ผลการตรวจซ้ำโดยแดยแพย์ยืนยันยันผลปกติ จำนวน 5 คน ชมรมรักษ์สุขภาพบ้านทุ่งยาม ได้ตระหนักดีในบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคแก่ประชาชน เพื่อที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชน และเป็นการลดภาระคำใช้จ่ายที่จะต้องดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง เป็นการสนองตา นโยบายประกันสุขภาพอีกทางหนึ่ง จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก |
||
2 | 2.เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 50 ของผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตัวเองอย่างถูกต้อง |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจมะเร็งเต้านมได้ถูกต้อง
- ร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
- ร้อยละ 100 ของผู้ที่คลำได้ก้อนที่เต้านมได้รับการส่งแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยที่ถูกต้อง
- ร้อยละ 100 ของผู้ที่มีผลตรวจมะเร็งปากมดลูกได้รับการส่งพบแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยที่ถูกต้อง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ค. 2568 09:22 น.