โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก 2568
ชื่อโครงการ | โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก 2568 |
รหัสโครงการ | 2568-L4139-02-13 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมรักษ์สุขภาพ |
วันที่อนุมัติ | 21 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 28,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางประไพ ขวัญนงรักษ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.597,101.283place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความ สูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกัน รณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรค ไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนักและยังคงเป็นปัญหาสำสำคัญในระดับประเทศ สาเทตหนึ่งที่ทำให้ปัญหาโรคไข้เลือดอดดออก ยังคงคุกคามชีวิตประชาชนชาวไทยคือการที่ประชาชนชาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของโรคไข้เลือดออก และ การไม่มีพฤติกรรมตื่นตัวร่วมกันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อันอาจมีสาเหตุเนื่องมาจากการแพร่ ประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านสาธารณสุขยังไม่ครอบคลุมถึงทุกครัวเรือนเพื่อสร้าง ความรู้ความเข้าใจและวิธีปฏิบัติตนให้แก่ประชาชนในการรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทีมงาน ชมรมรักษ์สุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการลูกน้ำยุงลายปลอดภัยใช้เลือดออก เพื่อรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้นในชุมชนทั้ง ๓ ชุมชน นี้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก 1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเหลือไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร |
||
2 | 2.เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในชุมชน 1.ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ HI = 0 2.ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ CI = 0 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเหลือไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร 2.ความทันเวลาในการควบคุมแหล่งแพร่โรค (ภายใน 24 ชั่วโมงหลังได้รับแจ้ง) ร้อยละ 100 3.สำรวจความพร้อมกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านรัศมี 100 เมตร ค่าดัชนีมีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรคหลังควบคุม HI = 0 4.มีการพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัยในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรัศมี 100 เมตร ร้อยละ 100 5.ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ค. 2568 09:51 น.