โครงการส่งเสริมศักยภาพการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมศักยภาพการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง |
รหัสโครงการ | 2568-L4139-02-16 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมรักษ์สุขภาพ |
วันที่อนุมัติ | 21 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 15 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 15,200.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางพรชิตา จำนงค |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.597,101.283place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ตามที่นโฮบายของกระพรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสำคัญกัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคนภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาประเทศ ด้าบต่างๆ โดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งทั้งกายและใจ สามารถดูแลตแลงได้ได้โดยมุ่งเน้นการวิจัยและ พัฒนาทุนสังคม และภูมิปัญญาชุมชน ตลอดจนการมีส่วนร่วมร่วมของพื้นที่ในระดับท้องถิ่น กระทรวงสาธารณสุขใต้กำหนดเกณฑ์วัด ความสำเร็จของการสร้างสุขภาวะให้คนไทยแข็งแข็งแรง ส่วนหนึ่งนั้น โดยได้กำหนดตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความตันโลหิตสูง โรค อันพฤกษ์ อัมพาด โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โดยกำหนดให้มีกิจกรรมการคัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยในชุมชุมชน และให้มีการถละ กิจกรรมเสี่ยงอันได้แก่ละเลิกการสูบบุหรี่ ตื่นเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ลดอาหารที่มีรสหวาน มัน เต็ม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ รับประพาบผักผลไม้เพิ่มขึ้น มีการออกกำลังกายเป็นประจำ ลดภาวะน้ำหนักเกิน การดำเนินงานให้ประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืนนั้นจำเป็นจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง และการกำหนดยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมชองพื้นที่ จากการสถาณการรณ์โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในเดือนมกราคม-มีนาคม ปี2567 พบว่า ประชาชนกลุ่มป่วยเบาหวาบคุม น้ำตาลสะสมได้ ร้อยละ 20.5 กลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง คุมความดันโลหิตได้ร้อยละ 35.6 าลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยามู มุ่งหวังเพิ่มประสิทธิภาพความครอบคลุมการเฝ้าระวัง ป้องกัน ภาวะแ วาน ความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความโลหิตสู ระมาณ 2568 ขึ้น โดยให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างความร่วมมือ และพัฒนากิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกร ภาวะแทรกช้อนของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับโรค ผู้ป่วยมีความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับโรคร้อยละ 80 |
||
2 | 2.กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง สามารถคุมความดันโลหิตและน้ำตาลสะสมได้ กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน น้ำตาลสะสมไม่เกิน 7 % เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 กลุ่มป่วยความดันโลหิตสูงสามารถคุมความดันได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
1.ประชาชนกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความต้นโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีผลการตรวจะดับดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความตัน ลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยคำความดันโลหิต อยุ่ในระดับไม่เกิน 140/90 mmmbg สำหรับผู้ป่วยโรคเบา สะสมไม่เกิน 7 % 2.กลุ่มป้วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะแทรกข้อนระบบหลอดเลือดสมอง ตา ไต หัวใจ เป็นต้น 3.มีเครือข่าย/แกนนำด้านสุขภาพในชุมชน 4.เกิดนวัตกรรมสุขภาพในชุมชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ค. 2568 10:28 น.