กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ
รหัสโครงการ 68-L4128-2-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านตาเนาะแมเราะ
วันที่อนุมัติ 26 มีนาคม 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 26 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 26 กันยายน 2568
งบประมาณ 14,990.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนิษฐเนตร เทพเกื้อ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านตาเนาะแมเราะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 5.853,101.099place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุขภาพจิต
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 74 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการสำรวจขององค์การอนามัยโลกพบว่าในประชากร 4 คนจะมีผู้มีปัญหาสุขภาพจิต 1 คน และอีก 2 คนเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากปัญหาสุขภาพจิต เช่น เป็นญาติพี่น้อง คนในครอบครัว เป็นต้น สำหรับโรคทางจิตเวชประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคทางจิตทั้งหมดจำนวน 1,152,044 ราย ส่วนใหญ่จะเริ่มป่วยในช่วงปลายวัยรุ่น หรือวัยผู้ใหญ่ อายุระหว่าง 15-35 ปี ซึ่งเป็นช่วงชีวิตของการทำ งานและการสร้างครอบครัว และจากการศึกษาดัชนีวัดความสูญเสียทางสุขภาพ หลักการและเหตุผล     จากการสำรวจขององค์การอนามัยโลกพบว่าในประชากร 4 คนจะมีผู้มีปัญหาสุขภาพจิต 1 คน และอีก 2 คนเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากปัญหาสุขภาพจิต เช่น เป็นญาติพี่น้อง คนในครอบครัว เป็นต้น สำหรับโรคทางจิตเวชประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคทางจิตทั้งหมดจำนวน 1,152,044 ราย ส่วนใหญ่จะเริ่มป่วยในช่วงปลายวัยรุ่น หรือวัยผู้ใหญ่ อายุระหว่าง 15-35 ปี ซึ่งเป็นช่วงชีวิตของการทำ งานและการสร้างครอบครัว และจากการศึกษาดัชนีวัดความสูญเสียทางสุขภาพ หรือ DALYs พบว่า ในปี พ.ศ. 2562 คนไทยสูญเสียสุขภาวะ (DALYs) ทั้งที่ควรจะมีชีวิตอยู่อย่างสุขภาพดี โดย 10 อันดับแรกสำหรับเพศชายมีโรคซึมเศร้าอยู่ในอันดับที่ 10 และในเพศหญิงโรคซึมเศร้าอยู่อันดับที่ 3 การสำรวจระดับชาติล่าสุดในปี 2561 พบคนไทยร้อยละ 14 หรือ 9 ล้านกว่าคนมีปัญหาสุขภาพจิตและในภาวะวิกฤต เช่น ภัยธรรมชาติ แผ่นดินไหว ภาวะเศรษฐกิจ จะเพิ่มจำนวนมากขึ้น จากข้อมูลสถานการณ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าปัญหาสุขภาพจิตและ


โรคทางจิตเวชเป็นปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นกับประชาชนจำนวนมากโดยเฉพาะวัยรุ่นและวัยทำงาน เมื่อเกิดขึ้นแล้วส่งผล กระทบอย่างมากต่อการดำเนินชีวิต การส่งเสริมสุขภาพจิตคือ การส่งเสริมให้เยาวชนทุกเพศวัยได้รับการดูแลทางสังคมจิตใจให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการดูแลตนเอง และอยู่ในสิ่งแวดล้อม ครอบครัว สังคม ชุมชน ที่เอื้ออำนวยต่อการมีสุขภาพจิตที่ดี
    ดังนั้นโรงเรียนบ้านตาเนาะแมเราะ ตระหนักว่า ปัญหาสุขภาพจิตนั้น เกิดขึ้นได้กับทุกวัยไม่เว้นแม้แต่เด็กเล็ก โดยหากคุณพ่อ คุณแม่ ผู้ปกครองไม่ทันสังเกตให้ดีว่าลูกเรากำลังประสบกับปัญหาทางสุขภาพจิตที่มากกว่าแค่อาการดื้อหรืออารมณ์ขึ้นลงตามปกติ ก็อาจจะนำไปสู่ผลกระทบทางการศึกษาที่ร้ายแรงได้ จึงได้ดำเนินโครงการสุขภาพจิต สุขภาพใจ เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมและป้องกันการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพจิตของผู้เรียน โดยมีการอบรมให้ความรู้ การส่งเสริมการดูแลตัวเอง/กระบวนการเรียนรู้/ความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์ การป้องกันและลดปัญหาด้านสุขภาพจิต ตามเป้าหมายของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะแมเราะ อีกทั้งให้ผู้เรียนได้มีความสุข สนุกสนาม มีความเชื่อมั่นในตัวเอง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพจิต

 

2 2. เพื่อให้นักเรียนรู้จักวิธีการป้องกัน หลีกเลี่ยงการมีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสุขภาพจิต

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพจิต
  2. นักเรียนรู้จักวิธีการป้องกัน และหลีกเลี่ยงการมีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสุขภาพจิต
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2568 09:18 น.