โครงการยุโปร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการยุโปร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 2568-L4139-02-18 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน |
วันที่อนุมัติ | 21 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 22,400.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวนาฏนภางค์ คล้ายนิมิตร |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.597,101.283place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากการสำรวจสถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหาสุขภาพของประชาชนบ้านยุโป พบว่าปัญหาสุขภาพ การมีดัชนีมวล กายสูง กระดูกพรุน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง มีปัจจัยความเสี่ยงที่ละเลยการตรวจสุขภาพ ปัญหาสำคัญคือ บกพร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องสร้างเสริมพลังในการแก้ไขปัญหาเหล่านั้นคือการให้ ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่วมกับการจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพในชุมชน องค์ประกอบพื้นฐานได้แก่ความเจ็บป่วยเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้โดยการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ เหมาะสม การออกกำลังกาย การพักผ่อนหย่อนใจเพื่อคลายเครียด การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และการตรวจ คัดกรองโรคด้วยตนเอง ารออกกำลังกายเป็นพฤติกรรมสุขภาพประการหนึ่งที่สำคัญให้ประโยชน์ทั้งร่างกายและจิตใจ ต้ เช่นระบบไหลเวียนผลดีต่อการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ การออกกำลังกายทำให้ปลออดแข็งแรง ช่วยลดอัตราการ งการหักจากโรคกระดูกพรุนได้ ลดการสะสมระดับไขมันในร่างกายเรื่องของระบบภูมิคุ้มกันการอ อย่างสม่ำเสมอประมาณ 4 ชั่วโมงหรือมากว่านี้ต่อสัปดาห์ตั้งแต่เด็กวัยรุ่นจนโตเป็นผู้ใหญ่ จะช่วยเพิ่มภูมิต้า การเกิดสารก่อมะเร็งและเพิ่มการไหลเวียนของเม็ดโลหิตขาวทำให้ลดปัญหาสุขภาพได้ประชาช และดูแลตนเองได้ ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยุโป จึงได้ โครงการยุโปรวมใจ ห่วงใยสุขภาพ ปี 2568 เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและให้ประชาชนมีส่วนร่วนร่วมใน โครงการเพื่อนำไปสู่การส่งเสริมสุขภาพด้วยตนเองที่ยั่งยืน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาวะของประชาชนด้วยหลัก 3 อ 2 ส ประชาชนสามารถสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลัก 3 อ 2 ส |
||
2 | 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุจภาพและการป้องกันโรค ประชาชนสามารถดูแลตนเองและป้องกันโรคได้ |
||
3 | 3.เพื่อให้ประชาชนมีสภาพร่างกายที่ สมบูรณ์ แข็งแรง ประชาชนมีสุขภาพดีขึ้น |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถคำนวนค่าดัชนีมวลการและวางแผนปริมาณในการรับประทานอาหารได้ 2.ร้อยละ 80 ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้ให้บุคคลอื่นในครอบครัวได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 พ.ค. 2568 11:37 น.