โครงการ รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาสือเร๊าะ ยูนุ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการ รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2502-2-14 เลขที่ข้อตกลง 2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2502-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคหลอดเลือดสมอง(Stroke) คือ ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง เนื่องจากหลอดเลือดตีบ หลอดเลือดอุดตัน หรือหลอดเลือดแตก ส่งผลให้เนื้อเยื่อในสมองถูกทำลาย การทำงานของสมองหยุดชะงัก เป็นสาเหตุการตายสำคัญของผู้สูงวัยทั่วโลก ปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งประเทศไทยคาดว่ามีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มมากขึ้น ในแต่ละปีโรคหัวใจและหลอดเลือดเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ เพศ และปัจจัยด้านพฤติกรรม เช่น การออกกำลังกาย อาหาร การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และปัจจัย ทางกายภาพ เช่น ความดันโลหิต ระดับไขมันในเลือดและเบาหวาน ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือด ในระดับที่แตกต่างกัน ความน่ากลัวของโรคนี้ คือ เป็นโรคที่ไม่เตือนล่วงหน้า มีแต่สัญญาณเตือนว่าอาจเป็นโรคหลอดเลือดสมอง ได้แก่ อาการหน้าเบี้ยว แขนขาชา หรืออ่อนแรง พูดไม่ชัด ให้รีบพาไปโรงพยาบาลทันที เพื่อให้แพทย์วินิจฉัยและให้การรักษา กรณีที่เป็นหลอดเลือดสมองตีบ ทำการรักษาโดยฉีดยาละลายลิ่มเลือด ซึ่งมีผลต่อการรักษาอย่างมาก หากมาพบแพทย์ภายในเวลาไม่เกิน 3 ชม. หลังจากที่มีอาการ ส่วนกรณีหลอดเลือดสมองแตก ทำการรักษาโดยวิธีการผ่าตัด เมื่อสมองขาดเลือด เซลล์สมองจะถูกทำลายทำให้สมองส่วนนั้นๆ สูญเสียการทำหน้าที่ ความรุนแรงของโรคจึงขึ้นอยู่กับว่า สมองส่วนไหนถูกทำลายและสมองนั้นควบคุมการทำงานใดของร่างกาย เช่น การพูด การทรงตัว ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากโรคจึงมีความหลากหลายและแตกต่างกัน อาจมีตั้งแต่สามารถฟื้นฟูกลับมาได้ ไปจนถึงอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิต จุดสำคัญ คือ ยิ่งพาไปโรงพยาบาลเร็วเท่าไร ยิ่งมีโอกาสรอดมากเท่านั้น โดยเฉพาะการพาไปให้ถึงมือหมอภายในเวลา 3 ชม. หลังจากมีอาการ ความท้าทายของโรคนี้จึงอยู่ที่ “จะทำอย่างไรให้คนรอบข้างหรือผู้ที่มีอาการรู้ว่า หากมีอาการหน้าเบี้ยว แขนขาชา หรืออ่อนแรง พูดไม่ชัด นี่คือสัญญาณเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง และต้องพาผู้ป่วยไปถึงโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด” (Stroke รู้ก่อนเป็น คือ ทางรอด)
ในปัจจุบันพบผู้ป่วย Stroke ในพื้นที่ตำบลกาลิซา มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและส่งผลให้ผู้ป่วยกลายเป็นผู้พิการอยู่ในกลุ่มที่ต้องได้รับการดูแลระยะยาว หรือภาวะพึ่งพิงนั้นเอง เป็นภาระของครอบครัวและชุมชน สาเหตุมาจากหลายประการด้วยกัน เช่น พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม มีโรคประจำตัว ความเครียด เป็นต้น ที่สำคัญ คือ ไม่ทราบถึงสัญญาณเตือนโรคของโรคนี้ จึงทำให้รับการรักษาช้ากว่า 3 ชม. การฟื้นตัวหลังการป่วย
จึงล่าช้า และบางรายถึงกับเสียชีวิต
ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการจัดทำโครงการรู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อลดความพิการภายหลังการป่วยและลดการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประชาสัมพันธ์การรู้เท่าทันการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจแก่ประชาชนในพื้นที่
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ประชาชนในเขตรับผิดชอบได้รับความรู้จากการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองอย่างทั่วถึง
2 ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจและมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อประชาสัมพันธ์การรู้เท่าทันการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจแก่ประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ 100 ของพื้นที่มีป้ายประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชน
2
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา ( โรคหัวใจ ภายใน 10 นาที / โรคหลอดเลือดสมอง ภายใน 3 ชั่วโมง) ร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาสัมพันธ์การรู้เท่าทันการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจแก่ประชาชนในพื้นที่ (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2502-2-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนาสือเร๊าะ ยูนุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาสือเร๊าะ ยูนุ
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2502-2-14 เลขที่ข้อตกลง 2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2502-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคหลอดเลือดสมอง(Stroke) คือ ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง เนื่องจากหลอดเลือดตีบ หลอดเลือดอุดตัน หรือหลอดเลือดแตก ส่งผลให้เนื้อเยื่อในสมองถูกทำลาย การทำงานของสมองหยุดชะงัก เป็นสาเหตุการตายสำคัญของผู้สูงวัยทั่วโลก ปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งประเทศไทยคาดว่ามีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มมากขึ้น ในแต่ละปีโรคหัวใจและหลอดเลือดเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ เพศ และปัจจัยด้านพฤติกรรม เช่น การออกกำลังกาย อาหาร การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และปัจจัย ทางกายภาพ เช่น ความดันโลหิต ระดับไขมันในเลือดและเบาหวาน ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือด ในระดับที่แตกต่างกัน ความน่ากลัวของโรคนี้ คือ เป็นโรคที่ไม่เตือนล่วงหน้า มีแต่สัญญาณเตือนว่าอาจเป็นโรคหลอดเลือดสมอง ได้แก่ อาการหน้าเบี้ยว แขนขาชา หรืออ่อนแรง พูดไม่ชัด ให้รีบพาไปโรงพยาบาลทันที เพื่อให้แพทย์วินิจฉัยและให้การรักษา กรณีที่เป็นหลอดเลือดสมองตีบ ทำการรักษาโดยฉีดยาละลายลิ่มเลือด ซึ่งมีผลต่อการรักษาอย่างมาก หากมาพบแพทย์ภายในเวลาไม่เกิน 3 ชม. หลังจากที่มีอาการ ส่วนกรณีหลอดเลือดสมองแตก ทำการรักษาโดยวิธีการผ่าตัด เมื่อสมองขาดเลือด เซลล์สมองจะถูกทำลายทำให้สมองส่วนนั้นๆ สูญเสียการทำหน้าที่ ความรุนแรงของโรคจึงขึ้นอยู่กับว่า สมองส่วนไหนถูกทำลายและสมองนั้นควบคุมการทำงานใดของร่างกาย เช่น การพูด การทรงตัว ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากโรคจึงมีความหลากหลายและแตกต่างกัน อาจมีตั้งแต่สามารถฟื้นฟูกลับมาได้ ไปจนถึงอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิต จุดสำคัญ คือ ยิ่งพาไปโรงพยาบาลเร็วเท่าไร ยิ่งมีโอกาสรอดมากเท่านั้น โดยเฉพาะการพาไปให้ถึงมือหมอภายในเวลา 3 ชม. หลังจากมีอาการ ความท้าทายของโรคนี้จึงอยู่ที่ “จะทำอย่างไรให้คนรอบข้างหรือผู้ที่มีอาการรู้ว่า หากมีอาการหน้าเบี้ยว แขนขาชา หรืออ่อนแรง พูดไม่ชัด นี่คือสัญญาณเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง และต้องพาผู้ป่วยไปถึงโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด” (Stroke รู้ก่อนเป็น คือ ทางรอด)
ในปัจจุบันพบผู้ป่วย Stroke ในพื้นที่ตำบลกาลิซา มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและส่งผลให้ผู้ป่วยกลายเป็นผู้พิการอยู่ในกลุ่มที่ต้องได้รับการดูแลระยะยาว หรือภาวะพึ่งพิงนั้นเอง เป็นภาระของครอบครัวและชุมชน สาเหตุมาจากหลายประการด้วยกัน เช่น พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม มีโรคประจำตัว ความเครียด เป็นต้น ที่สำคัญ คือ ไม่ทราบถึงสัญญาณเตือนโรคของโรคนี้ จึงทำให้รับการรักษาช้ากว่า 3 ชม. การฟื้นตัวหลังการป่วย
จึงล่าช้า และบางรายถึงกับเสียชีวิต
ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการจัดทำโครงการรู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อลดความพิการภายหลังการป่วยและลดการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประชาสัมพันธ์การรู้เท่าทันการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจแก่ประชาชนในพื้นที่
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ประชาชนในเขตรับผิดชอบได้รับความรู้จากการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองอย่างทั่วถึง 2 ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจและมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อประชาสัมพันธ์การรู้เท่าทันการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจแก่ประชาชนในพื้นที่ ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ 100 ของพื้นที่มีป้ายประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชน |
|
|||
2 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา ( โรคหัวใจ ภายใน 10 นาที / โรคหลอดเลือดสมอง ภายใน 3 ชั่วโมง) ร้อยละ 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาสัมพันธ์การรู้เท่าทันการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจแก่ประชาชนในพื้นที่ (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2502-2-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนาสือเร๊าะ ยูนุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......