โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวแวยะห์ ดอลอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2502-2-15 เลขที่ข้อตกลง 2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2502-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 81,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อโดยมียุงลายเป็นพาหะ ที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสีย ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข แนะนำให้เฝ้าระวังสถานการณ์โรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง และเน้นย้ำให้ผู้ป่วยไปรับการรักษาเร็ว การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนพฤษภาคม – กันยายนของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่ง พอดี และนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน จึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนและศาสนสถาน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศ ข้อมูลจากกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 18 กุมภาพันธ์ 2568 พบรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 5,410 ราย กลุ่มอายุที่พบอัตราป่วยสูงสุดยังคงเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียน คือ กลุ่มอายุ 5 – 14 ปี รองลงมาคือ 15 – 24 ปี และพบผู้ป่วยสูงทางภาคใต้ โดยจังหวัดที่มีอัตราป่วยสุดในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมา ได้แก่ ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี สงขลา พัทลุง และนราธิวาส ตามลำดับ ในส่วนของผู้เสียชีวิตพบว่า มีผู้เสียชีวิต 10 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.18 ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ
ดังนั้น จึงต้องมีการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยให้ประชาชนร่วมมือและตระหนักถึงความสำคัญที่ต้องช่วยกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาด การควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกให้ได้ผลอย่างรวดเร็วนั้น ต้องตัดวงจรการติดต่อของโรคอย่างทันท่วงที ซึ่งในปัจจุบันนี้ใช้วิธีการพ่นฟุ้งกระจายชนิดถูกตัวตายเพื่อกำจัดยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค การพ่นเคมีจะเกิดผลดีและมีประสิทธิภาพเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น ชนิดของสารเคมี คุณภาพเครื่องพ่นสารเคมี เทคนิคการพ่นสารเคมี และสภาพแวดล้อมขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น ตำบลกาลิซา เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก ซึ่งการแพร่เชื้อและกระจายโรค เกิดได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และศาสนสถาน จึงต้องมีการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกไม่ให้แพร่ระบาดเพิ่มขึ้น โดยอาศัยการร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง จึงได้มีการดำเนินงานโครงการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อดำเนินการพ่นหมอกควันควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก รวมถึงรณรงค์ให้เกิดจิตสำนึกของชุมชนมีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพที่ดีสร้างเกราะป้องกัน และลดอัตราการป่วยจากโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด และลดอัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออก
- เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
- ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ลดลง
2 จำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่ลดลง
3 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และร่วมมือในการป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออก
4 สามารถเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด และลดอัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาดและอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 80
2
เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายลดลง ร้อยละ 80
3
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 80
4
ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ประชาชนมีพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลาย อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด และลดอัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม (4) ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2502-2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวแวยะห์ ดอลอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวแวยะห์ ดอลอ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2502-2-15 เลขที่ข้อตกลง 2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2502-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 81,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อโดยมียุงลายเป็นพาหะ ที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสีย ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข แนะนำให้เฝ้าระวังสถานการณ์โรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง และเน้นย้ำให้ผู้ป่วยไปรับการรักษาเร็ว การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนพฤษภาคม – กันยายนของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่ง พอดี และนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน จึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนและศาสนสถาน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศ ข้อมูลจากกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 18 กุมภาพันธ์ 2568 พบรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 5,410 ราย กลุ่มอายุที่พบอัตราป่วยสูงสุดยังคงเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียน คือ กลุ่มอายุ 5 – 14 ปี รองลงมาคือ 15 – 24 ปี และพบผู้ป่วยสูงทางภาคใต้ โดยจังหวัดที่มีอัตราป่วยสุดในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมา ได้แก่ ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี สงขลา พัทลุง และนราธิวาส ตามลำดับ ในส่วนของผู้เสียชีวิตพบว่า มีผู้เสียชีวิต 10 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.18 ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ
ดังนั้น จึงต้องมีการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยให้ประชาชนร่วมมือและตระหนักถึงความสำคัญที่ต้องช่วยกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาด การควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกให้ได้ผลอย่างรวดเร็วนั้น ต้องตัดวงจรการติดต่อของโรคอย่างทันท่วงที ซึ่งในปัจจุบันนี้ใช้วิธีการพ่นฟุ้งกระจายชนิดถูกตัวตายเพื่อกำจัดยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค การพ่นเคมีจะเกิดผลดีและมีประสิทธิภาพเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น ชนิดของสารเคมี คุณภาพเครื่องพ่นสารเคมี เทคนิคการพ่นสารเคมี และสภาพแวดล้อมขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น ตำบลกาลิซา เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก ซึ่งการแพร่เชื้อและกระจายโรค เกิดได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และศาสนสถาน จึงต้องมีการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกไม่ให้แพร่ระบาดเพิ่มขึ้น โดยอาศัยการร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง จึงได้มีการดำเนินงานโครงการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อดำเนินการพ่นหมอกควันควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก รวมถึงรณรงค์ให้เกิดจิตสำนึกของชุมชนมีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพที่ดีสร้างเกราะป้องกัน และลดอัตราการป่วยจากโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด และลดอัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออก
- เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
- ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ลดลง 2 จำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่ลดลง 3 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และร่วมมือในการป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออก 4 สามารถเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด และลดอัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาดและอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายลดลง ร้อยละ 80 |
|
|||
3 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 80 |
|
|||
4 | ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ประชาชนมีพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลาย อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด และลดอัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม (4) ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2502-2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวแวยะห์ ดอลอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......