โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงินตราเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงินตราเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม ”
ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มอาสาสมัครพิทักษ์ชายหาด บ้านละเวง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย
สิงหาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงินตราเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม
ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60L3022214 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงินตราเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงินตราเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงินตราเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60L3022214 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
.ด้วยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้มีมติเห็นชอบ Roadmap การกำจัดขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ในการประชุมเมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ โดยมีนโยบายการแก้ปัญหาขยะมูลฝอย ดังนี้ ๑) แก้ปัญหาขยะเก่า คือเร่งกำจัดขยะมูลฝอยที่ตกค้างสะสมในพื้นที่จะต้องไม่มีขยะถูกกองทิ้งแบกลางแจ้ง(No more open dump) ๒) ขยะมูลฝอยที่เกิดใหม่ ให้ดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยตามรูปแบบใหม่ คือ ต้องลดการผลิตขยะและคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่บ้านเรือน ๓) วางระเบียบมาตรการ ที่จะรองรับการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้กำกับดูแลการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในภาพรวม ของจังหวัด
๔) การสร้างวินัยของคนในชาติ คือ การให้ความรู้กับประชาชน และการบังคับใช้กฎหมาย คณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันที่3 พฤษภาคม 2559ลงมติเห็นด้วยกับแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559 – 2564)ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอและให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมร่วมกับกระทรวงมหาดไทยจัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศระยะสั้น(พ.ศ.2559 – 2560)และนายกรัฐมนตรี(พลเอก ประยุทธ์จันทร์โอชา)ได้กล่าวในรายการคืนความสุขให้คนในชาติซึ่งเผยแพร่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยเมื่อวันศุกร์ที่27 พฤษภาคม 2559เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยอย่างเป็นรูปธรรมและได้เร่งรัดมอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยบูรณาการร่วมกับกระทรวงมหาดไทยบูรณาการร่วมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในการจัดทำแผนปฏิบัติการ “ประเทศไทยไร้ขยะ” ตามแนวทาง “ประชารัฐ”ระยะ 1 ปี โดยใช้หลักการ 3Rs คือ การใช้น้อยใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่โดยมีเป้าหมายเพื่อลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอยในภาพรวมของประเทศลดลงร้อยละ 5
ซึ่งในปัจจุบันหมู่บ้านในเขตพื้นที่ตำบลดอนทรายมีจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้นการบริโภคในครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณขยะจากครัวเรือนเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย จะเห็นได้จากขยะมูลฝอยตามหมู่บ้านทั้ง ๔ หมู่บ้าน มีอัตราเพิ่มขึ้นซึ่งขยะเหล่านั้นเป็นขยะที่ย่อยสลายได้อยาก เช่น กล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก และขยะอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ซึ่งขยะเหล่านี้ก่อให้เกิดมลภาวะ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่าง ๆ ตลอดจนเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชน
จากเหตุปัจจัยดังกล่าวข้างต้น ทำให้ปัญหาเรื่องการจัดการขยะยากที่จะควบคุมได้เว้นแต่ประชาชนในหมู่บ้านซึ่งเป็นผู้บริโภค และผู้ขายจะมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมลดการใช้เปลี่ยนการใช้หีบห่อบรรจุภัณฑ์จากพลาสติก เป็นหีบห่อบรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติ เช่นใบตอง กระดาษ ที่สามารถย่อสลายได้ง่ายและนำวัสดุเหลือใช้นำกลับมาใช้ใหม่แทนที่จะทิ้งเป็นขยะ เพื่อลดจำนวนขยะ และลดรายจ่ายในการซื้อของใหม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่เปลี่ยนแปลงได้
ยาก จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น กลุ่มอาสาสมัครพิทักษ์ชายหาดบ้านละเวง จึงได้จัดทำโครงการธนคารขยะ เปลี่ยนขยะเป็นเงินตรา เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาขยะ เพื่อลดปริมาณขยะและปัญหาสิ่งแวดล้อมขึ้น เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีเงินออมจากการขายขยะ มีสุขภาพร่างกาย สุขภาพจิตที่ดีและมีสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อจัดตั้งธนาคารขยะในหมู่บ้านที่มีความสมัครใจ
- 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
- 3.เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี
- 4.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน
- 5.เพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนในชุมชน
- 6.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีธนาคารขยะรับซื้อขยะจากชุมชน
2.ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย
3.ปริมาณขยะมีจำนวนลดลง
4.ประชาชนมีรายได้จากการขายขยะ
5.ชุมชนในเขต ตำบลดอนทราย สะอาดน่าอยู่ อย่างยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ
วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 08:00-16.00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีธนาคารขยะรับซื้อขยะจากชุมชน
2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย
3. ปริมาณขยะมีจำนวนลดลง
4. ประชาชนมีรายได้จากการขายขยะ
5. ชุมชนในเขต ตำบลดอนทราย สะอาดน่าอยู่ อย่างยั่งยืน
60
60
2. กิจกรรมรับสมัครและจัดตั้งธนาคารขยะ ในหมู่บ้านนำร่อง
วันที่ 7 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00-12.00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาสัมพันธ์ การรับซื้อและการจัดตั้งธนาคารขยะ ในปีงบประมาณ 2561
0
200
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- มีธนาคารขยะรับซื้อขยะจากชุมชน
2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย
3. ปริมาณขยะมีจำนวนลดลง
4. ประชาชนมีรายได้จากการขายขยะ
5. ชุมชนในเขต ตำบลดอนทราย สะอาดน่าอยู่ อย่างยั่งยืน
การดำเนินงาน ทำให้ขยะในภาพรวมของตำบลดอนทราย ลดลงร้อยละ 5 ทำให้เกิดการจัดการขยะ ด้วยตนเอง เกิดข้อตกลงกลุ่ม ต่างๆในการจัดการขยะของกลุมประชาชนต่างๆ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อจัดตั้งธนาคารขยะในหมู่บ้านที่มีความสมัครใจ
ตัวชี้วัด : 1. มีธนาคารขยะรับซื้อขยะจากชุมชน
2
2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย
3
3.เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : 3.ปริมาณขยะมีจำนวนลดลง
4
4.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอ
5
5.เพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 4.ประชาชนมีรายได้จากการขายขยะ
6
6.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : 5.ชุมชนในเขต ตำบลดอนทราย สะอาดน่าอยู่ อย่างยั่งยืน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อจัดตั้งธนาคารขยะในหมู่บ้านที่มีความสมัครใจ (2) 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ (3) 3.เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี (4) 4.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน (5) 5.เพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนในชุมชน (6) 6.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงินตราเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60L3022214
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กลุ่มอาสาสมัครพิทักษ์ชายหาด บ้านละเวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงินตราเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม ”
ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มอาสาสมัครพิทักษ์ชายหาด บ้านละเวง
สิงหาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60L3022214 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงินตราเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงินตราเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงินตราเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60L3022214 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
.ด้วยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้มีมติเห็นชอบ Roadmap การกำจัดขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ในการประชุมเมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ โดยมีนโยบายการแก้ปัญหาขยะมูลฝอย ดังนี้ ๑) แก้ปัญหาขยะเก่า คือเร่งกำจัดขยะมูลฝอยที่ตกค้างสะสมในพื้นที่จะต้องไม่มีขยะถูกกองทิ้งแบกลางแจ้ง(No more open dump) ๒) ขยะมูลฝอยที่เกิดใหม่ ให้ดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยตามรูปแบบใหม่ คือ ต้องลดการผลิตขยะและคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่บ้านเรือน ๓) วางระเบียบมาตรการ ที่จะรองรับการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้กำกับดูแลการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในภาพรวม ของจังหวัด
๔) การสร้างวินัยของคนในชาติ คือ การให้ความรู้กับประชาชน และการบังคับใช้กฎหมาย คณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันที่3 พฤษภาคม 2559ลงมติเห็นด้วยกับแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559 – 2564)ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอและให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมร่วมกับกระทรวงมหาดไทยจัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศระยะสั้น(พ.ศ.2559 – 2560)และนายกรัฐมนตรี(พลเอก ประยุทธ์จันทร์โอชา)ได้กล่าวในรายการคืนความสุขให้คนในชาติซึ่งเผยแพร่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยเมื่อวันศุกร์ที่27 พฤษภาคม 2559เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยอย่างเป็นรูปธรรมและได้เร่งรัดมอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยบูรณาการร่วมกับกระทรวงมหาดไทยบูรณาการร่วมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในการจัดทำแผนปฏิบัติการ “ประเทศไทยไร้ขยะ” ตามแนวทาง “ประชารัฐ”ระยะ 1 ปี โดยใช้หลักการ 3Rs คือ การใช้น้อยใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่โดยมีเป้าหมายเพื่อลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอยในภาพรวมของประเทศลดลงร้อยละ 5
ซึ่งในปัจจุบันหมู่บ้านในเขตพื้นที่ตำบลดอนทรายมีจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้นการบริโภคในครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณขยะจากครัวเรือนเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย จะเห็นได้จากขยะมูลฝอยตามหมู่บ้านทั้ง ๔ หมู่บ้าน มีอัตราเพิ่มขึ้นซึ่งขยะเหล่านั้นเป็นขยะที่ย่อยสลายได้อยาก เช่น กล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก และขยะอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ซึ่งขยะเหล่านี้ก่อให้เกิดมลภาวะ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่าง ๆ ตลอดจนเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชน
จากเหตุปัจจัยดังกล่าวข้างต้น ทำให้ปัญหาเรื่องการจัดการขยะยากที่จะควบคุมได้เว้นแต่ประชาชนในหมู่บ้านซึ่งเป็นผู้บริโภค และผู้ขายจะมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมลดการใช้เปลี่ยนการใช้หีบห่อบรรจุภัณฑ์จากพลาสติก เป็นหีบห่อบรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติ เช่นใบตอง กระดาษ ที่สามารถย่อสลายได้ง่ายและนำวัสดุเหลือใช้นำกลับมาใช้ใหม่แทนที่จะทิ้งเป็นขยะ เพื่อลดจำนวนขยะ และลดรายจ่ายในการซื้อของใหม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่เปลี่ยนแปลงได้
ยาก จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น กลุ่มอาสาสมัครพิทักษ์ชายหาดบ้านละเวง จึงได้จัดทำโครงการธนคารขยะ เปลี่ยนขยะเป็นเงินตรา เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาขยะ เพื่อลดปริมาณขยะและปัญหาสิ่งแวดล้อมขึ้น เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีเงินออมจากการขายขยะ มีสุขภาพร่างกาย สุขภาพจิตที่ดีและมีสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อจัดตั้งธนาคารขยะในหมู่บ้านที่มีความสมัครใจ
- 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
- 3.เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี
- 4.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน
- 5.เพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนในชุมชน
- 6.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีธนาคารขยะรับซื้อขยะจากชุมชน 2.ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย 3.ปริมาณขยะมีจำนวนลดลง 4.ประชาชนมีรายได้จากการขายขยะ 5.ชุมชนในเขต ตำบลดอนทราย สะอาดน่าอยู่ อย่างยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 08:00-16.00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
60 | 60 |
2. กิจกรรมรับสมัครและจัดตั้งธนาคารขยะ ในหมู่บ้านนำร่อง |
||
วันที่ 7 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00-12.00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาสัมพันธ์ การรับซื้อและการจัดตั้งธนาคารขยะ ในปีงบประมาณ 2561
|
0 | 200 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- มีธนาคารขยะรับซื้อขยะจากชุมชน 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย 3. ปริมาณขยะมีจำนวนลดลง 4. ประชาชนมีรายได้จากการขายขยะ 5. ชุมชนในเขต ตำบลดอนทราย สะอาดน่าอยู่ อย่างยั่งยืน การดำเนินงาน ทำให้ขยะในภาพรวมของตำบลดอนทราย ลดลงร้อยละ 5 ทำให้เกิดการจัดการขยะ ด้วยตนเอง เกิดข้อตกลงกลุ่ม ต่างๆในการจัดการขยะของกลุมประชาชนต่างๆ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อจัดตั้งธนาคารขยะในหมู่บ้านที่มีความสมัครใจ ตัวชี้วัด : 1. มีธนาคารขยะรับซื้อขยะจากชุมชน |
|
|||
2 | 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย |
|
|||
3 | 3.เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัด : 3.ปริมาณขยะมีจำนวนลดลง |
|
|||
4 | 4.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอ |
|
|||
5 | 5.เพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนในชุมชน ตัวชี้วัด : 4.ประชาชนมีรายได้จากการขายขยะ |
|
|||
6 | 6.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด : 5.ชุมชนในเขต ตำบลดอนทราย สะอาดน่าอยู่ อย่างยั่งยืน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อจัดตั้งธนาคารขยะในหมู่บ้านที่มีความสมัครใจ (2) 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ (3) 3.เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี (4) 4.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน (5) 5.เพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนในชุมชน (6) 6.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงินตราเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60L3022214
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กลุ่มอาสาสมัครพิทักษ์ชายหาด บ้านละเวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......