กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ประจำปี งบประมาณ 2560 ”
ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลนาโยง




ชื่อโครงการ โครงการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ประจำปี งบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-50117-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 ธันวาคม 2559 ถึง 21 พฤศจิกายน 2559

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ประจำปี งบประมาณ 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ประจำปี งบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ประจำปี งบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-50117-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 ธันวาคม 2559 - 21 พฤศจิกายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ระบบสุขภาพชุมชนตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 10 กำหนดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์เพื่อสร้างระบบการบริหารจัดการที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาสังคม สามารถพัฒนาระบบการจัดการด้านสุขภาพให้เหมาะสมกับบริบทของชุมชน เน้านกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) ส่งเสริมนวัตกรรมการจัดการปัญหาสุขภาพในระดับชุมชนการดำเนินการดังกล่าวจะสามารถเกิดผลสัมฤทธิ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพจำเป็นต้องได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากชุมชน และต้องทำให้ชุมชนร่วมดำเนินการและมีความเป็นเจ้าของในการดำเนินการสร้างสุขภาวะในชุมชน การจัดทำแผนงานด้านสุขภาพของประชาชนโดยประชาชนเพื่อประชาชน เป็นกระบวนการที่ประชาชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมค้นหา ร่วมเรียนรู้ ร่วมกำหนดทิศทางร่วมจัดกิจกรรมการพัฒนา และร่วมรับผลประโยชน์ โดยเริ่มจากการคัดเลือกแกนนำ การทบทวนงานในอดีต กำหนดอนาคต การสำรวจข้อมููล วิเคราะห์ข้อมูล กำหนดปัญหา และการประเมินศักยภาพชุมชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือให้เกิดการทบทวนตนเอง โดยคำนึงถึงศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิตวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมในชุมชนรวมทั้งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นตามศักยภาพของชุมชนกระตุ้นประชาชนให้เกิดความกระตือรือร้นในการพัฒนาชุมชนของตนเอง ตลอดจนให้ความร่วมมือกับกิจกรรมด้านสุขภาพ และร่วมติดตามประเมินผล ดังนั้น ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลนาโยงร่วมกับ อบต.นาโยงเหนือ ได้ตระหนักและเห็นถึงควมสำคัญจึงได้จัดทำโครงการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนฯขึ้น เพื่อให้เกิดแผนที่มีคุณภาพและครอบคลุมทุกกลุ่มวัยและทั่วถึงทุกพื้นที่แก้ปัญหาตรงจุดและขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. -เพื่อค้นหาปัญหาสุขภาพด้านต่าง ๆ ในชุมชนที่เป็นอยู่ในปัจจุบันและแนวโน้มที่จะเกิดในอนาคต -เพื่อศึกษาผลกระทบตัวแปรต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชนและพัฒนาไปสู่การแก้ปัญหาด้านปัญหา -เพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหาด้านสุขภาพ นำเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนฯ เพื่อดำเนินการอนุมัติจัดทำโครงการแก้ปัญหาด้านสุขภาพต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    มีแผนสุขภาพและแนวทางแก้ปัญหาที่มาจากตัวแทนประชาชนเพื่อการพัฒนาสู่การแก้ปัญหาด้านสุขภาพอย่างยั่งยืน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. โครงการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ประจำปี งบประมาณ 2560

    วันที่ 21 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีแผนสุขภาพและแนวทางแก้ปัญหาที่มาจากตัวแทนประชาชนเพื่อการพัฒนาการแก้ปัญหาด้านสุขภาพอย่างยั่งยืน

     

    60 60

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    มีแผนสุขภาพและแนวทางแก้ปัญหาที่มาจากตัวแทนประชาชนเพื่อการพัฒนาสู่การแก้ปัญหาด้านสุขภาพอย่างยั่งยืน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 -เพื่อค้นหาปัญหาสุขภาพด้านต่าง ๆ ในชุมชนที่เป็นอยู่ในปัจจุบันและแนวโน้มที่จะเกิดในอนาคต -เพื่อศึกษาผลกระทบตัวแปรต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชนและพัฒนาไปสู่การแก้ปัญหาด้านปัญหา -เพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหาด้านสุขภาพ นำเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนฯ เพื่อดำเนินการอนุมัติจัดทำโครงการแก้ปัญหาด้านสุขภาพต่อไป
    ตัวชี้วัด : -ได้ทราบปัญหาด้าสนสุขภาพ ในชุมชนที่เป็นอยู่ปัจจุบันและแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต -ได้ทราบผลกระทบตัวแปรต่าง ๆที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชนและพัฒนาไปสู่การแก้ปัญหาด้านสุขภาพ -หน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องและประชาชนแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมได้อย่างยั่งยืน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) -เพื่อค้นหาปัญหาสุขภาพด้านต่าง ๆ ในชุมชนที่เป็นอยู่ในปัจจุบันและแนวโน้มที่จะเกิดในอนาคต -เพื่อศึกษาผลกระทบตัวแปรต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชนและพัฒนาไปสู่การแก้ปัญหาด้านปัญหา -เพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหาด้านสุขภาพ นำเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนฯ เพื่อดำเนินการอนุมัติจัดทำโครงการแก้ปัญหาด้านสุขภาพต่อไป

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ประจำปี งบประมาณ 2560 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-50117-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลนาโยง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด