กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราเฮาะ


“ โครงการ “เด็กปุโระ ใส่ใจและป้องกันโรคมือ เท้า ปาก “ ”

ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอาหามัดซากี ซอแนะ

ชื่อโครงการ โครงการ “เด็กปุโระ ใส่ใจและป้องกันโรคมือ เท้า ปาก “

ที่อยู่ ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3015-2-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ “เด็กปุโระ ใส่ใจและป้องกันโรคมือ เท้า ปาก “ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราเฮาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ “เด็กปุโระ ใส่ใจและป้องกันโรคมือ เท้า ปาก “



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ “เด็กปุโระ ใส่ใจและป้องกันโรคมือ เท้า ปาก “ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3015-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,216.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราเฮาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มือนับเป็นอวัยวะที่ทำให้มนุษย์ใช้หยิบจับสิ่งของต่างๆ ตั้งแต่ลืมตาขึ้นมาในตอนเช้า ไม่ว่าจะเป็นการล้างหน้า อาบน้ำ แปรงฟัน สัมผัสผู้อื่น รวมทั้งหยิบอาหารเข้าปาก มือจึงอาจนำเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย และหากมีผู้เป็นโรคติดต่อ มืออาจจะเป็นอวัยวะที่เป็นตัวกลางในการนำเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย และนำเชื้อโรคนี้ไปแพร่สู่ผู้อื่น จากการสัมผัสโดยตรงหรือผ่านตัวกลางที่พบบ่อยและผู้คนมากมายอาจจะมองข้ามไป ได้แก่ลูกบิดประตู ราวบันได โดยในปัจจุบันมีโรคมากมายที่เกิดจากการไม่ล้างมือหลังการทำกิจกรรมต่างๆ เช่น โรคมือ เท้า ปาก ซึ่งเป็นโรคที่พบบ่อยในเด็ก ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี มักระบาดในช่วงหน้าฝน โรคนี้เกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่มเอนเตอโรไวรัส เนื่องจากโรคมือ เท้า ปาก (Hand, Foot and Mouth Diseasa:HFMD) เป็นโรคติดเชื้อไวรัสที่เกิดเฉียบพลันและสามารถหายเองได้ เกิดจากเชื้อไวรัสซึ่งมีหลายสายพันธุ์ เช่น ในกลุ่มไวรัสเอนเทอดรหรือไวรัสในลำไส้ เกิดในกลุ่มเด็กทารกและเด็กเล็กตามสถานรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียนอนุบาล ฯ โดยมีปัจจัยหลักที่โน้มนำให้เกิดการระบาดมาจากความแออัด ระบบการถ่ายเทอากาศไม่ดี เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อมากกว่าคนในกลุ่มอายุอื่น และโรคเกิดประปรายตลอดปี แต่จะเพิ่มมากขึ้นในฤดูฝน ซึ่งอากาศเย็นและชื้น การเป็นโรคมือ เท้า ปาก เกิดจากการกินอาหารโดยไม่ล้างมือ การดื่มน้ำ ดูดเลียนิ้วมือ ซึ่งโรคนี้จะมีอาการโดยทั่วไปจะมีไข้ เจ็บคอมีตุ่มพองใสขนาด 1 - 2 มม.บนฐานซึ่งมีสีแดง กระจายอยู่บริเวณคอหอย และตุ่มพองใสจะขยายกลายเป็นแผลคล้ายแผลร้อนใน โดยมากพบที่บริเวณด้านหน้าของต่อมทอนซิล เพดานปาก ลิ้นไก่ และต่อมทอนซิล และมักเป็นอยู่นาน 4 - 6 วัน หลังเริ่มมีอาการ มีรายงานพบว่าอาจพบอาการชักจากไข้สูงร่วมได้ร้อยละ 5 โดยมีวิธีการป้องกันคือล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่และน้ำ โดยเฉพาะเมื่อสัมผัสกับเด็กที่ป่วยล้างมือหลังจากเข้าห้องน้ำ ใช้ช้อนกลางและหลีกเลี่ยงการใช้แก้วน้ำหรือหลอดดูดน้ำร่วมกัน หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วย สวมถุงมือเมื่อจะทำแผลผู้ป่วย โรงเรียนบ้านปะกาลิมาปุโระ ได้เล็งเห็นความสำคัญของสถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก ในปัจจุบัน จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังโรคมือ เท้า ปาก ในโรงเรียนบ้านปะกาลิมาปุโระ ขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ และเมื่อผู้ปกครองได้ตระหนักและเฝ้าระวังป้องกันภัยแก่บุตรหลานให้พ้นอันตรายจากการแพร่ระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคมือ เท้า ปากที่ถูกต้อง
  2. 2. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร มีความรู้ในการควบคุมป้องกันและลดอัตราการเกิดโรคมือ เท้า ปากที่ถูกวิธี และเหมาะสม
  3. 3. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร สามารถนำความรู้ เรื่องโรคมือ เท้า ปาก ไปเผยแพร่แก่ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 170
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคมือ เท้า ปากที่ถูกต้อง
    2. นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร มีความรู้ในการควบคุมป้องกันและลดอัตราการเกิดโรคมือ เท้า ปากที่ถูกวิธี
        และเหมาะสม
    3. นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร สามารถนำความรู้ เรื่องโรคมือ เท้า ปาก ไปเผยแพร่แก่ชุมชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคมือ เท้า ปากที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคมือ เท้า ปากที่ถูกต้อง
    170.00

     

    2 2. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร มีความรู้ในการควบคุมป้องกันและลดอัตราการเกิดโรคมือ เท้า ปากที่ถูกวิธี และเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : 2. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร มีความรู้ในการควบคุมป้องกันและลดอัตราการเกิดโรคมือ เท้า ปากที่ถูกวิธี และเหมาะสม
    170.00

     

    3 3. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร สามารถนำความรู้ เรื่องโรคมือ เท้า ปาก ไปเผยแพร่แก่ชุมชน
    ตัวชี้วัด : 3. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร สามารถนำความรู้ เรื่องโรคมือ เท้า ปาก ไปเผยแพร่แก่ชุมชน
    170.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 170
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 170
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคมือ เท้า ปากที่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร มีความรู้ในการควบคุมป้องกันและลดอัตราการเกิดโรคมือ เท้า ปากที่ถูกวิธี และเหมาะสม (3) 3.  เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร สามารถนำความรู้ เรื่องโรคมือ เท้า ปาก ไปเผยแพร่แก่ชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ “เด็กปุโระ ใส่ใจและป้องกันโรคมือ เท้า ปาก “ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L3015-2-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอาหามัดซากี ซอแนะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด