กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ


“ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ”

ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางรอกีเยาะ เซ็งมีดี

ชื่อโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

ที่อยู่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4152-2-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กรกฎาคม 2561 ถึง 26 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร



บทคัดย่อ

โครงการ " ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4152-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กรกฎาคม 2561 - 26 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การอนามัยโลก ระบุประชากรทั่วโลกเสียชีวิตด้วยกลุ่มโรค NCDs ๖๓% และที่สำคัญเป็นประชากรในประเทศกำลังพัฒนาถึง ๘๐% ขณะที่คนไทยเสียชีวิตด้วยกลุ่มโรคนี้สูงกว่าอัตราการเสียชีวิตเฉลี่ยของประชากรทั้งโลกถึง ๑๐% และสูงกว่าทุกประเทศในโลก และมีแนวโน้มว่าจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ทั้งที่กลุ่มโรค NCDs เป็นโรคที่เกิดจากปัจจัยที่หลีกเลี่ยงและป้องกันได้ ปัจจุบันแนวโน้มผู้ป่วยกลุ่มโรค NCDs เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งพบผู้ป่วยที่มีอายุน้อยลงเรื่อยๆ และเชื่อว่าจะเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง พิจารณาจากอัตราน้ำหนักตัวของประชากรที่อยู่ในเกณฑ์เกินมาตรฐานมีจำนวนเพิ่มขึ้น ถือเป็นปัจจัยเสี่ยงหนึ่งที่จะทำให้เกิดกลุ่มโรค NCDs ขึ้น สิ่งสำคัญที่สุดคือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อนที่จะเกิดโรค โดยอาหารถือเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุด สามารถปรับโดยการลดหวาน มัน เค็ม บริโภคให้ครบ ๕ หมู่ และ ควรลดหรือเลิกดื่มเหล้า สูบบุหรี่ซึ่งเป็นตัวการที่ทำให้เกิดหลายโรคเช่นกัน เพิ่มการออกกำลังกาย และหากิจกรรมคลายเครียด ก็จะเป็นวิธีป้องกันกลุ่มโรค NCDs ได้อย่างดี จากผลการตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนในชุมชนเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกอตอตือร๊ะปีงบประมาณ ๒๕๖๑ในกลุ่มประชาชนอายุ ๓๕ ขึ้นไปจำนวน๑,๙๒๘ คนพบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๗๘๐ คนคิดเป็นร้อยละ ๔๐.๔๕ % กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน ๕๒ คนคิดเป็นร้อยละ ๒.๖๙% และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกอตอตือร๊ะร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลกอตอตือร๊ะ เล็งเห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ เน้นการป้องกันให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถดูแลตนเองเพื่อไม่ให้กลายเป็นกลุ่มป่วย และเพื่อให้กลุ่มป่วยสามารถควบคุมอาการตนเองและลดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นได้ โดยเน้นการดำเนินงานโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการกระตุ้นและสร้างกระแส ให้ประชนในพื้นที่ตื่นตัวในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่องจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. เพื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. เพื่อสามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค,การเลือกอาหารเพื่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. สามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค,การเลือกอาหารเพื่อสุขภาพ

วันที่ 26 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำแผนรณรงค์
  2. ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมาย
  3. ออกตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพโดยการสัมภาษณ์ การสูบบุหรี่การรับประทานอาหารการออกกำลังกาย และการตรวจวัดความดันโลหิต ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงหาดัชนีมวลกาย วัดรอบเอว และภาวะซึมเศร้า
  4. คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
  5. ดำเนินการจัดกิจกรรม 5.1 อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง 5.2 จัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  6. รวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ และประเมินผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. สามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด

 

140 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อสามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (2) เพื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) เพื่อสามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค,การเลือกอาหารเพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4152-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอกีเยาะ เซ็งมีดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด