กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน ”
ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางรอกีเยาะ เซ็งมีดี




ชื่อโครงการ สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน

ที่อยู่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4152-1-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 เมษายน 2561 ถึง 19 เมษายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน



บทคัดย่อ

โครงการ " สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4152-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 เมษายน 2561 - 19 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขใช้การสร้างภูมิคุ้มกันเป็นกลวิธีและหลักสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อได้ ด้วยวัคซีนโดยบรรจุไว้ใต้แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มโรคมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยการให้วัคซีนแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายด้วยการผสมผสานเข้ากับการบริการสาธารณสุขตามระบบปกติ โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนเป็นโรคที่ค่อย ๆ หายไปจากประเทศไทยเนื่องจากความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม และการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขที่ช่วยให้ประชาชนเข้าถึงบริการการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนของระบบสาธารณสุขมากยิ่งขึ้น โดยความสำเร็จของวัคซีนในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนนั้นขึ้นกับองค์ประกอบสำคัญ ๒ ประการ คือ ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน (Vaccine coverage) สูง และประสิทธิผลของวัคซีน (vaccine effectiveness) ดีจากผลการปฏิบัติงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกอตอตือร๊ะ หมวดงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กอายุ๐-๕ ปี ตำบลกอตอตือร๊ะอำเภอรามัน จังหวัดยะลา ในปี พ.ศ.๒๕๖๐ พบว่า จำนวนเด็ก ๐-๕ปี ทั้งหมด ๓๔๑ คน ได้รับวัคซีน ๒๗๘คน คิดเป็นร้อยละ ๘๑.๘๑ม ซึ่งความครอบคลุมการได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรคยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ประกอบกับผู้ปกครองขาดความรู้ ทัศนคติในการนำบุตรหลานมารับวัคซีนและในปัจจุบันยังคงเกิดสถานการณ์ความไม่สงบใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่ง ต่อการดำเนินงานในเชิงรุกส่งผลให้การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีความครอบคลุมไม่บรรลุตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาแก้ไขอย่างเร่งด่วน หากไม่มีการดำเนินการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมอาจส่งผลให้เกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งเป็นโรคติดต่อร้ายแรงมากยิ่งขึ้น ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกอตอตือร๊ะ ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลกอตอตือร๊ะเห็นความสำคัญในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับเด็กอายุ ๐ – ๕ ปีจึงจัดทำโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กไทยมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและเป็นบันไดสู่ความสำเร็จของการมีสุขภาพดี เพื่อนำไปสู่การเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าของประเทศชาติต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อผู้ปกครองเด็ก ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม.มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนมากขึ้น
  2. เพื่อผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคซีนตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
  3. เพื่อเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบชุดตามเกณฑ์อายุ
  4. เพือไม่เกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองเด็ก ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม.มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนมากขึ้น
  2. ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคซีนตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
  3. เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบชุดตามเกณฑ์อายุ
  4. ไม่เกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 19 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. เก็บรวบรวมข้อมูลความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เด็กอายุ 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบ
  2. วิเคราะห์ปัญหาจัดทำโครงการเพื่อเสนองบประมาณและขออนุมัติโครงการ
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  4. ประสานงานติดต่อวิทยากร
  5. จัดเตรียมสถานที่และอุปกรณ์ 6.ดำเนินการจัดกิจกรรม 6.1 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องวัคซีน 6.2 จัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7.จัดระบบติดตามเชิงรุกแบบเข้มข้นโดยใช้กลไกDHS 8.สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ปกครองเด็ก ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม.มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนมากขึ้น
  2. ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคซีนตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
  3. เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบชุดตามเกณฑ์อายุ
  4. ไม่เกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผู้ปกครองเด็ก ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม.มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนมากขึ้น
  2. ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคซีนตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
  3. เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบชุดตามเกณฑ์อายุ
  4. ไม่เกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อผู้ปกครองเด็ก ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม.มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนมากขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคซีนตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบชุดตามเกณฑ์อายุ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพือไม่เกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อผู้ปกครองเด็ก ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม.มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนมากขึ้น (2) เพื่อผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคซีนตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น (3) เพื่อเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบชุดตามเกณฑ์อายุ (4) เพือไม่เกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4152-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอกีเยาะ เซ็งมีดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด