กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ค่ายเยาวชนต้านภัยอบายมุข ปีที่ 2 ”
ตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
น.ส.วารุจีจุลนวล




ชื่อโครงการ ค่ายเยาวชนต้านภัยอบายมุข ปีที่ 2

ที่อยู่ ตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5272-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"ค่ายเยาวชนต้านภัยอบายมุข ปีที่ 2 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูเต่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ค่ายเยาวชนต้านภัยอบายมุข ปีที่ 2



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และการป้องกันตนเองเรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา ยาเสพติด และภัยใกล้ตัวในสังคมปัจจุบัน (2) 2.เพื่อให้เยาวชนมีทักษะในการป้องกัน หลีกเลี่ยง และปฎิเสธ (3) 3.เพื่อให้เยาวชนได้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดประสบการณ์การใช้ชีวิตและการมีกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ร่วมกัน (4) 4.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาดูงานสถานที่เกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา ยาเสพติด และภัยใกล้ตัวในสังคมปัจจุบัน และ wall Rally อบายมุข 3 ฐาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาของวัยรุ่นในสังคมไทยรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งด้านกายภาพเศรษฐกิิจและสังคมเมืองเป็นสังคมแห่งยุคเทคโนโลยีความทันสมัยและสิ่งยั่วยวนใจชวนให้หลงใหลทำให้เยาวชนซึ่งเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของการเจริญเติบโตมีการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายจิตใจและอารมณ์ทำให้วัยรุ่นอยากลองอยากรู้อยากดูอยากเห็นอยากทำและอยากเป็นโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัยของตัวเองอีกทั้งยังขาดความคิดใคร่ครวญให้ดีในการตัดสินใจที่จะกระทำอะไรลงไปทำให้วัยรุ่นประสบปัญหามากมายเช่นปัญหาเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรปัญหาการทำแท้งปัญหาโรคเอดส์ปัญหารุนแรงเป็นต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และการป้องกันตนเองเรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา ยาเสพติด และภัยใกล้ตัวในสังคมปัจจุบัน
  2. 2.เพื่อให้เยาวชนมีทักษะในการป้องกัน หลีกเลี่ยง และปฎิเสธ
  3. 3.เพื่อให้เยาวชนได้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดประสบการณ์การใช้ชีวิตและการมีกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ร่วมกัน
  4. 4.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาดูงานสถานที่เกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา ยาเสพติด และภัยใกล้ตัวในสังคมปัจจุบัน และ wall Rally อบายมุข 3 ฐาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 94
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เยาวชนเกิดความรู้ความเข้าใจและรู้จักการป้องกันตนเองจากโรคเอดส์เพศศึกษาที่ไม่เหมาะสมยาเสพติดและภัยใกล้ตัวในสังคม 2.เยาวชนมีทักษะในการป้องกันหลีกเลี่ยงปฏิเสธในเรื่องโรคเอดส์เพศศึกษาที่ไม่เหมาะสมยาเสพติดและภัยใกล้ตัวในสังคม 3.เยาวชนได้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกิดประสบการณ์ใช้ชีวิตและการมีกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ร่วมกัน 4ใเกิดกลุ่มแกนนำต้านภัยอบายมุขในพื้นที่ตำบลคูเต่า


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.การจัดทำโครงการค่ายเยาวชนต้านภัยอบายมุขปีที่ 2 ประจำปี 2561 ได้คัดเลือกเยาวชนอายุ 11 - 15 ปี ผู้ดูแล และเจ้าหน้าที่ร่วมดำเนินการ จำนวน 91 คน 2.จัดกิจกรรมตามโครงการ โดยแบ่งเป็น 3 กิจกรรม คือ - กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา ยาเสพติด และภัยใกล้ตัวในสังคมปัจจุบัน - กิจกรรม Walk Rally อบายมุข 3 ฐาน - กิจกรรมศึกษาดุงานสถานที่เกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติด ณ สถานบำบัดฟื้นฟูยาเสพติดมูลนิธิพระครูประดิษฐ์วรการ ตำบลเกาะขัน อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช สรุปผลการทำแบบสอบถามเรื่องโรคเอดส์ ยาเสพติด และเพศศึกษา จากการทำแบบทดสอบ สามารถวัดระดับความรู้ก่อนและหลังอบรม ตามทฤษฎีของ Benjamin Bloom โดยมีเกณฑ์แบ่งระดับความรู้ออกเป็น 3 กลุ่มดังนี้ - กลุ่มที่ 1 คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป หรือคะแนนตั้งแต่ 8 ขึ้นไป หมายถึง มีความรู้ในระดับดี - กลุ่มที่ 2 คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 60.1 - 79.9 หรือคะแนน 6 -7 หมายถึง มีความรู้ในระดับปานกลาง - กลุ่มที่ 3 คะแนนน้อยกว่า 60 ลงมา หรือคะแนนน้อยกว่า 6 คะแนนลงมา หมายถึง มีความรู้ในระดับน้อย 1.การอบรมเรื่องเอดส์ จากการทำแบบทดสอบก่อนอบรมพบว่า ระดับความรู้ระดับน้อยจำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 73.68 ระดับปานกลางจำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 21.05 และระดับดีจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 5.27 หลังจากได้ผ่านการอบรมพร้อมกับทำแบบทดสอบหลังอบรม แล้วปรากฎว่า ระดับความรู้อยู่ในระดับน้อยจำนวน 27 คน คิดเป้นร้อยละ 47.37 ระดับปานกลางจำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 21.05 และระดับดีจำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 31.58 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบระดับความรู้ก่อนและหลังการอบรม พบว่ามีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 40.35 2.การอบรมเรื่องยาเสพติด จากการทำแบบทดสอบก่อนอบรมพบว่า ระดับความรู้ระัดับน้อยจำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 47.37 ระดับปานกลางจำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 47.37 และระดับดีจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 5.26 หลังจากได้ผ่านการอบรมพร้อมกับทำแบบทดสอบหลังอบรมพบว่าระดับความรู้ระดับน้อยจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 42.11 ระดับปานกลางจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 35.10 และระดับดีจำนวน 13 คนคิดเป็นร้อยละ 22.79 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบระดับความรู้ก่อนและหลังการอบรม พบว่ามีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.84
3.การอบรมเรื่องเพศศึกษา จากการทำแบบทดสอบก่อนอบรมปรากฎว่า ระดับความรู้ระดับน้อยจำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 71.93 ระดับปานกลางจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 24.56 และระดับดีจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 3.51 หลังจากได้ผ่านการอบรมพร้อมกับทำแบบทดสอบหลังอบรมแล้วปรากฎว่าระดับความรู้ระดับน้อยจำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 45.61 ระดับปานกลางจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 19.30 และระดับดีจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 35.10 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบระดับความรู้ก่อนและหลังการอบรม พบว่ามีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 45.61

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และการป้องกันตนเองเรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา ยาเสพติด และภัยใกล้ตัวในสังคมปัจจุบัน
ตัวชี้วัด :
0.00 0.00

 

2 2.เพื่อให้เยาวชนมีทักษะในการป้องกัน หลีกเลี่ยง และปฎิเสธ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อให้เยาวชนได้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดประสบการณ์การใช้ชีวิตและการมีกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ร่วมกัน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาดูงานสถานที่เกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 94 91
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 94 91
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และการป้องกันตนเองเรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา ยาเสพติด และภัยใกล้ตัวในสังคมปัจจุบัน (2) 2.เพื่อให้เยาวชนมีทักษะในการป้องกัน หลีกเลี่ยง และปฎิเสธ (3) 3.เพื่อให้เยาวชนได้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดประสบการณ์การใช้ชีวิตและการมีกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ร่วมกัน (4) 4.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาดูงานสถานที่เกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา ยาเสพติด และภัยใกล้ตัวในสังคมปัจจุบัน และ wall Rally อบายมุข 3 ฐาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ค่ายเยาวชนต้านภัยอบายมุข ปีที่ 2 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5272-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.วารุจีจุลนวล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด