กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ เยี่ยมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ”
ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสมศรี ทองดียิ่งประธาน อสม.เทศบาลตำบลนาวง




ชื่อโครงการ เยี่ยมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L7931-2-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"เยี่ยมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เยี่ยมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " เยี่ยมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L7931-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน การเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในหลายๆโรคจะปรับเปลี่ยนไปตามภาวะเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ซึ่งมีผลต่อพฤติกรรมของประชาชนที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามวิถีชีวิต และโรคที่มีการเจ็บป่วยเพิ่มขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหัวใจหลอดเลือด เป็นต้น ซึ่งต้องได้รับการรักษาตลอดชีวิตและมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจนเกิดความพิการได้ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือขาดการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง นอกจากนี้ ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ของประชากรทั้งหมด ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีความเปราะบางด้านสุขภาพกาย การจัดระบบการดูแลเพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพมีความรู้ความสามารถและความมั่นคงในชีวิต ที่ผ่านมาทำได้ในระยะสั้น อีกทั้งผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งปัญหาดังกล่าวทั้งในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุและผู้พิการ มักส่งผลกระทบต่อทั้งญาติผู้ดูแลและผู้ป่วย ในบางรายญาติไม่มีเวลาพอที่จะมาดูแล หรือบางรายก็ขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นบุคคลที่ใกล้ชิดและเข้าถึงประชาชนได้มากที่สุด มีบทบาทหน้าที่กระจายความรู้ทางด้านสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความสามารถในการป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วย หรือเมื่อมีการเจ็บป่วยก็สามารถรักษาเบื้องต้น ป้องกันและฟื้นฟูสภาพไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนหรือความพิการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลนาวงจึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ จึงได้จัดทำโครงการโครงการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรังผู้สูงอายุขึ้นเพื่อให้ อสม.และญาติมีองค์ความรู้และทักษะในการดูแลด้านสุขภาพแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ตลอดจนเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน อยู่อย่างมีคุณภาพ และส่งผลให้ประชาชนในชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ได้รับการตรวจสุขภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน ะสม 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้สูงอายุ ผู้พิการ และญาติได้มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพได้อย่างต่อเนื่อง 3.เพื่อให้ อสม. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุผู้พิการ แบบผสมผสาน ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ได้รับการเยี่ยมบ้าน ติดตามเฝ้าระวัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อนแบบเคาะประตูบ้าน 2.ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพเบื้องต้น 3.อสม.ญาติ/ผู้ดูแล มีความรู้และทักษะและสามารถดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้สูงอายุ ผู้พิการ แบบผสมผสานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่อสม. ญาติและผู้ดูแล  จำนวน  1  ครั้ง -จัดกิจกรรมเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ    จำนวน  1  ครั้ง
-จัดทำนวตกรรมฟื้นฟูสมรรถภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ได้รับการตรวจสุขภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน ะสม 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้สูงอายุ ผู้พิการ และญาติได้มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพได้อย่างต่อเนื่อง 3.เพื่อให้ อสม. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุผู้พิการ แบบผสมผสาน ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการได้รับการติดตามเยี่ยม โดยอสม.
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ได้รับการตรวจสุขภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน ะสม

2.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้สูงอายุ ผู้พิการ และญาติได้มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพได้อย่างต่อเนื่อง

3.เพื่อให้ อสม. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุผู้พิการ แบบผสมผสาน ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เยี่ยมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L7931-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมศรี ทองดียิ่งประธาน อสม.เทศบาลตำบลนาวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด