โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (ศสม.ยะกัง 2)
ชื่อโครงการ | โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (ศสม.ยะกัง 2) |
รหัสโครงการ | 61-L7885-1-35 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | คณะจนท.ศสม.ยะกัง 2 |
วันที่อนุมัติ | 7 มีนาคม 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 7,100.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางศิริพร วัฑฒนายน |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางนูรอาซีกีนอาคุณซาดา |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 0.00 | |||||
2 | 0.00 | |||||
รวมงบประมาณ | 0.00 |
คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (7,100.00 บาท)
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1000 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
มะเร็งปากมดลูก เป็นสาเหตุการเสียชีวิตในอันดับต้นๆของคนไทย โรคมะเร็งในระบบสืบพันธุ์ส่วนมาก จะเกิดในสตรีมากกว่าบุรุษ เนื่องจากอวัยวะสืบพันธุ์ของสตรีมีความซับซ้อนมะเร็งปากมดลูกพบมากใน กลุ่มอายุ 30-70 ปี และเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ของสตรีไทย ซึ่งจะส่งผลกระทบด้านร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย และสมาชิกในครอบครัว รองลงมาคือมะเร็งเต้านม ซึ่งโรคมะเร็งทั้ง 2 ชนิดเป็นความท้าทายอย่างหนึ่งของ การแก้ปัญหาสาธารณสุขของบุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่ จากผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาของ สถานการณ์โรคมะเร็งเต้านมในสตรีไทยพบว่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 4,600 คนต่อปี หรือทุกๆ 2 ชั่วโมง จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งเต้านม สำหรับเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส พบว่าหญิงวัยเจริญพันธุ์กลุ่มเป้าหมาย อายุ30-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งเต้านมเพียง ร้อยละ 20.30 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดไว้ร้อยละ 80 ดังนั้น การให้ข้อมูลความรู้ที่ถูกต้อง ตลอดจนการสร้างพฤติกรรมการดูแลตนเองจากโรคมะเร็งเต้านม จึงเป็นสิ่งที่หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจะต้องเร่งดำเนินการ ซึ่งรวมไปถึงความพร้อม และศักยภาพในการให้บริการในระดับต่าง ๆ ของสถานบริการสาธารณสุขและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จากเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าวศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองยะกัง 2 โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์จึงได้จัดทำ “โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก” ในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองยะกัง 2 ขึ้น เพื่อค้นหาผู้ป่วยที่มีอาการในระยะเริ่มแรกและสามารถให้การรักษาได้อย่างทันเวลา เพื่อรณรงค์ตรวจคัดกรองค้นหาโรคมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมาย เพื่อลดอัตราการตายและส่งเสริมสุขภาพป้องกันตนเองจากโรคมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อค้าหาผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายในระระเริ่มแรก
|
80.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 7,100.00 | 1 | 7,100.00 | 0.00 | |
7 มี.ค. 61 - 30 ก.ย. 61 | จัดกิจกรรมทบทวนฟื้นฟูความรู้ให้กับอสม.ในเรื่องการตรวจมะเร็งเต้านม และเทคนิคการพูดโน้มน้าวให้กลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก | 0 | 7,100.00 | ✔ | 7,100.00 | 0.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 7,100.00 | 1 | 7,100.00 | 0.00 |
- จัดกิจกรรมทบทวนฟื้นฟูความรู้ให้กับ อสม. ในเรื่องการตรวจมะเร็งเต้านม และเทคนิคการพูดโน้มน้าว ให้กลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกณ. ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองยะกัง 2
- ให้ความรู้เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ30 ปี ขึ้นไป ในชุมชนที่รับผิดชอบ 7 ชุมชน
- จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาโรคมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกณ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองยะกัง 2 และ ในชุมชน 7 ชุมชน
1.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 2.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-70ปี มีความรู้ความสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน ร้อยละ 80 3.ตรวจพบมะเร็งมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายในระยะเริ่มแรก 4.อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ความสามารถแนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจมะเร็งเต้านมได้อย่างถูกต้อง 5.สตรีกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ที่ถูกต้อง ตลอดจนมีพฤติกรรมการดูแลตนเองจากโรคมะเร็งเต้านม 6.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการเฝ้าระวังและติดตามมาตรวจมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอทุกเดือน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 มี.ค. 2561 16:08 น.