กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางมีเนาะ พุ่มโพธิ์ทอง




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4150-1-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2561 ถึง 7 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4150-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มีนาคม 2561 - 7 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การออกกำลังกายเป็นพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญยิ่ง ในการทำให้สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงอยู่เสมอส่งผลต่อสภาวะสุขภาพทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นกลวิธีที่สามารถเห็นผลถึงการเปลี่ยนแปลงของสุขภาพได้อย่างเป็นรูปธรรมทำให้ร่างกายมีภูมิต้านทานไม่เจ็บป่วยบ่อยทั้งยังช่วยลดความเสี่ยงหรือช่วยป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระยะยาวรัฐบาลจึงจัดให้มีการรณรงค์มาอย่างต่อเนื่องโดยประกาศ นโยบายสร้างสุขภาพ ตามแนวทาง ๖ อ.ได้แก่อาหารออกกำลังกายอารมณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมอโรคยา และอบายมุขโดยกำหนดเป้าหมายให้ประชาชนอายุ ๖ ปี ขึ้นไปออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วัน ๆ ละ ๓๐ นาทีซึ่งในการดำเนินงานส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพการออกกำลังกายสามารถทำได้หลายรูปแบบและในทุกกลุ่มอายุไม่ว่าจะเป็น วัยเด็ก เยาวชนวันทำงานและวัยสูงอายุซึ่งแต่ละกลุ่มก็จะมีรูปแบบในการออกกำลังกายที่แตกต่างกันไปเช่นเต้นแอโรบิกรำไม้พลอง ไทเก๊ก โยคะเดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพเป็นต้น
ในส่วนของตำบลยะหาซึ่งประชากรส่วนใหญ่อยู่ในวัยทำงานและเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อต่างๆเช่นโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องส่งเสริมพฤติกรรมในการออกกำลังกาย เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคและเป็นการเสริมสร้างบุคลิกภาพที่ดีโดยเฉพาะ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ที่จะต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนนอกจากนี้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)นับว่าเป็นกลไกสำคัญในการถ่ายทอดความรู้ด้านการออกกำลังกายรวมทั้งการจัดกิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทางกายให้แก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบซึ่งจำเป็นต้องมีความรู้ความสามารถและมีทักษะ ในการส่งเสริมการออกกำลังกายแก่ประชาชนและประกอบกับกระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแก่ประชาชนโดยได้สนับสนุนการจัดตั้งชมรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพขึ้นโดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับการออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพจึงจัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพของประชาชนตำบลยะหาปี ๒๕61ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 9,936
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    อสม./ประชาชนมีการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที อย่างต่อเนื่องส่งผลต่อการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อต่างๆและลดการเจ็บป่วยด้วยโรคที่การออกกำลังกายทำให้ดีขึ้น ส่งผลต่อการลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลโดยรวมและสามารถส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมอกกำลังกายได้อย่างประสิทธิภาพต่อไป


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 9936
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 9,936
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 61-L4150-1-15

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางมีเนาะ พุ่มโพธิ์ทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด