กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขแกนนำตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ”
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางเพ็ญศรี รอดอิน




ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขแกนนำตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม

ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5215-1-1.4.1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2560

กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขแกนนำตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขแกนนำตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขแกนนำตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5215-1-1.4.1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 28 กุมภาพันธ์ 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายอันดับ 1 ของผู้หญิงทั่วโลก ในปีพ.ศ. 2559 มีผู้หญิงเสียชีวิตจากมะเร็งเต้านมถึง 502,000 ราย และพบผู้ป่วยรายใหม่1,200,000 ราย สำหรับประเทศไทยข้อมูลสถิติโรคมะเร็งเต้านมจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ปี 2559 พบว่าสตรีไทยป่วยเป็นมะเร็งเต้านม 34,539 ราย เสียชีวิต 2,724 รายและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ผู้หญิงที่มีอายุ 30 ปีขึ้นไปทุกคนมีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านม ถือเป็นภัยเงียบใกล้ตัว เนื่องจากในระยะแรกมะเร็งเต้านมจะไม่แสดงอาการ จะปรากฏอาการผิดปกติให้เห็นเมื่ออยู่ในระยะที่ก้อนมะเร็งมีการอักเสบและลุกลามไปทั่วแล้ว การรักษามักไม่ได้ผล ส่วนใหญ่จะเสียชีวิต ดังนั้นการป้องกันที่ดีที่สุด คือ การค้นหาก้อนมะเร็งให้รวดเร็ว โดยการตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน จากการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองปีงบประมาณ 2559 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านทุ่งใหญ่ พบว่า สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30 ปีขึ้นไปทั้งหมด จำนวน 1,892 คน มีสตรีจำนวน 654 คนเท่านั้นที่ตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน คิดเป็นร้อยละ 34.57 และป่วยเป็นโรคมะเร็งเต้านมรายใหม่ จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 0.92 จากข้อมูลดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าสตรีกลุ่มเป้าหมายยังไม่ให้ความสำคัญ ขาดความรู้ ความตระหนัก และขาดทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านทุ่งใหญ่ตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ทุกคน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านจึงเป็นแกนนำที่สำคัญ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านทุ่งใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม รวมถึงวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง สามารถแนะนำและเป็นตัวอย่างให้สตรีกลุ่มเป้าหมายในเขตพื้นที่รับผิดชอบเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ส่งเสริมให้สตรีมีสุขภาพดีไม่เป็นโรคมะเร็งเต้านม หากพบว่าเป็นโรคในระยะแรก ก็สามารถรักษาและมีโอกาสที่จะรอดชีวิตสูง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง สามารถแนะนำสตรีกลุ่มเป้าหมายให้ตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง 2.สตรีกลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง 3. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ผลการตรวจสงสัยผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อการตรวจรักษาที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้เกี่ยวข้อง 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านม 3.ประเมินผลความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม
4 สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเองและสามารถแนะนำเทคนิคมอบหมายให้ตรวจเต้านมด้วยตัวเองได้อย่างถูกวิธี

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขแกนนำตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5215-1-1.4.1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเพ็ญศรี รอดอิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด