กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน ประจำปี 2561
รหัสโครงการ 61-L1489-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลควนปริง
วันที่อนุมัติ 21 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 27 เมษายน 2561 -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 12,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดลอาบูบาเกอร์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.521,99.596place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 27 เม.ย. 2561 27 เม.ย. 2561 12,000.00
รวมงบประมาณ 12,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย เป็นการดูแลสุขภาพในชุมชนแบบพื้นบ้านดั้งเดิมที่อยู่คู่กับประเทศไทยมาตั้งแต่ก่อนสมัยกรุงสุขโทัย ซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสังคม วัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธู์ และรูปแบบการรักษามีทั้งการใช้ยาสมุนไพร การนวด การผดุงครรภ์ตลอดจนการรักษาทางจิตใจโดยใช้พิธีกรรมหรือคาถาต่างๆ ซึ่งสามารถตอบสนองต่อความต้องการทางด้านการรักษาสุขภาพ และความเจ็บป่วยของประชาชนได้อย่างดี แต่จากการพัฒนาในทุกด้านที่ยึดการพัฒนาตามระบบทุนนิยม ทำให้ชุมชนมีค่านิยมตามแนวทางของตะวันสตกเป็นหลัก โดยเฉพาะด้านการจัดการสุขภาพที่เน้นการพึ่งพิงจากภายนอกเป็นส่วนใหญ่สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ภูมิปัญญาและองค์ความรู้การดูแลสุขภาพเดิมที่มีอยู่ในชุมชนไม่ได้รับการพัฒนาและถูกทอดทิ้งจากคนรุ่นใหม่ ขาดการสืบทอดและผู้รู้ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุซึ่งนับวันจะมีจำนวนลดลง ทำให้ชุมชนรับประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านน้อยกว่าที่ควรจะเป็นทั้งๆ ที่ความรู้เหล่านี้สามารถช่วยดูแลรักษาความเจ็บป่วยให้กับชาวบ้านได้ อีกทั้งองค์ความรู้ทางการแพทย์พื้นบ้านไทย ทั้งที่เป็นตัวหมอพื้น ตำราพันธู์พืชที่ใช้เป็นยา สมุนไพร วิธีการการรักษาโรค ตลอดจนสังคมวัฒนธรรม ประเพณี และวิธีชีวิต ฯลฯ มีความสำคัญและเป็นสิ่งลำ้ค่าที่ควรจะเก็บรวบรวม อนุรักษ์ ฟื้นฟูภูมิปัญญาการแพทย?บ้านไทยให้ิอยู่คู่กับประเทศไทย เพื่อเป็นมรดกต่อลูกหลานในการสิบทอดองค์ความรู้ ในการนี้ อสม. ตำบลควนปริง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขั้นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการใช้สมุนไพรให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ได้รับประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน ซึ่งเป็นแพทย์ทางเลือกวิธีหนึ่งในรักษาความเจ็บป่วยให้กับประชาชนได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ได้มีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และสรรพคุณของพืชสมุนไพรพื้นบ้าน 2. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้พืชสมุนไพรในท้องถิ่นอย่างแพร่หลายเพิ่มขึ้น

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 12,000.00 0 0.00
27 เม.ย. 61 อบรมดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน 0 12,000.00 -

1.รวมรวบข้อมูล วางแผน กำหนดกลุ่มเป้าหมาย เพื่อจัดทำโครงการเสนอแก่คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลควนปริง 2.ประสานวิทยากร เพื่ออบรมให้ความรู้เรื่องพืชสมุนไพรพื้นบ้าน 3.จัดประชุมเพื่อบรมให้ความรู้แก่ประชาชน 4.สรุปและประเมินผลการดำเนินการโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และสรรพคุณของพืชสมุนไพรพื้นบ้าน 2.ประชาชนมีการใช้พืชสมุนไพรในท้องถิ่นอย่างแพร่หลายเพิ่มขิ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 มี.ค. 2561 10:03 น.