โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเปียน ปี 2561
ชื่อโครงการ | โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเปียน ปี 2561 |
รหัสโครงการ | 61-L5260-4-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | สำนักงานเลขาฯกองทุน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กรรมการและเลขานุการกองทุนฯ |
วันที่อนุมัติ | 10 เมษายน 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 10 เมษายน 2561 - 28 กันยายน 2561 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 83,700.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวนิตยา แยนา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.634,101.003place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 21 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระบบท้องถิ่นหรือพื้นที่หรือกองทุน อปท. เป็นนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและภาคีภาคส่วนต่างๆ โดยมุ่งเน้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ทั่วถึงมากขึ้น รวมถึงสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคม ที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง จากการดำเนินงานของกองทุนที่ผ่านมา พบว่ายังมีความจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาศักยภาพกองทุนและคณะกรรมการกองทุน โดยเฉพาะในเรื่องการบริหารจัดการกองทุนฯ ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากบาง จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากบาง เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุน ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามกิจกรรมที่ สปสช.กำหนดในข้อ 7 (4)
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
|
20.00 | |
2 | เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน) |
20.00 | |
3 | เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน) |
20.00 | |
4 | เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ |
20.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
- ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบของกองทุนฯ และดำเนินการบริหารจัดการกองทุนฯและบริหารจัดการตามอำนาจหน้าที่และระเบียบที่เกี่ยวข้อง
- จัดประชุม อบรมการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุน การจัดทำแผนสุขภาพกองทุน
- จัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนทุกเดือน
- จัดประชุมพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการบริการ/อนุกรรมการ
- ประชุมจัดทำแผนของกองทุน
- การปฏิบัติงานของกองทุนเป็นไปด้วยความคล่องตัวมีประสิทธิภาพ
- มีวัสดุ อุปกรณ์และครุภัณฑ์สำนักงาน เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน
- มีการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการกองทุนฯ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 มี.ค. 2561 14:40 น.