กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชาวกะรุบีร่วมใจ ห่างไกลไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 61-L2971-5-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลกะรุบีเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลกะพ้อ
วันที่อนุมัติ 28 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 40,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางยุพิน สาเมาะ และนางสะปีนะซีบะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.57,101.556place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4710 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)
4,710.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องด้วยพื้นที่ชุมชนในพื้นที่ป่าสวนยางพารา ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญในการเป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ทำให้มีการระบายของการเกิดโรคได้ง่าย ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของปัญหาคือ ประชาชนขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพและการทำงายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เพราะความเชื่อเดิมๆที่ไม่ถูกต้องและมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค และวิถีชีวิตที่ประกอบอาชีพกรีดยาง ในการใช้กะลาให้การรองน้ำยางซึ่งการเก็บยางนั้น ทำให้มีน้ำขังในกะลา ก่อให้เกิดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายได้ง่าย รวมทั้งสิ่งแวดล้อมในชุมชนมีการทิ้งขยะรอบๆบ้าน ไม่มีการชำจัดที่ถูกวิธี ทำให้เกิดการเพาะพันธืยุงลาย ก่อนหน้านี้ชุมชนมีการนำเทคโนโลยีที่สามารถนำมาใช้ในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย เช่น การพ่นหมอกควัน การใช้ทรายอเบต และการใช้สมุนไพรในการช่วยควบคุมการติดต่อของโรค ทางทีมงานเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเพื่อให้คนในชุมชนตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรค และได้มีส่วนร่วมในชุมชน การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงด้วยกัน เป็นการสร้างเสริมกิจกรรมในชุมชนร่วมด้วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)

4710.00 4710.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 พ.ค. 61 - 30 ก.ย. 61 กิจกรรม Big Cleaning Day 20,000.00 -
1 พ.ค. 61 - 30 ก.ย. 61 เดินรณรงค์ในหมู่บ้าน 0.00 -
1 พ.ค. 61 - 30 ก.ย. 61 ลงสำรวจทำลายลูกน้ำยุงลายและพ่นยุงในชุมชน 20,000.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

1.ส่งเสริมผู้นำฝ่ายปกครองในชุมชนเข้ามามีบทบาทในการเชิญชวนประชาชนให้มีความร่วมมือในการแก้ปัญหาและรณรงค์เรื่องยุงลาย 2.ลงพื้นที่ในชุมชนเพื่อลงมือร่วมกันทำความสะอาดบริเวณบ้านตนเองและสาธารณประโยชน์ 3.สร้างข้อตกลงในชุมชนเกี่ยวกับการดูแลชุมชน ร่วมกันคิดค้นนวัตกรรมและจัดหายาสุมนไพรที่สามารถป้องกันยุงลายได้ 4.แกนนำสาธารณสุข(อสม.)ชาวบ้านและเจ้าหน้าที่ ลงสำรวจทำลายลูกน้ำยุงลาย 5.พ่นยุงในชุมชน จำนวน5หมู่บ้าน หมู่บ้านละ5เดือน เดือนละ2ครั้ง ห่างกัน1สัปดาห์

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กนักเรียน 2.ลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในโรงเรียนลดลงและชุมชน พื้นที่รอบๆบ้านประชาชนในชุมชนสะอาดน่าอยู่ขึ้น 3.เกิดความร่วมมือร่วมใจของชุมชนและโรงเรียนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนัก ถึงภัยโรคไข้เลือดออกและเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 เม.ย. 2561 09:43 น.