กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและแก้ไขปัญหาทุโภชนาการ ประจำปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายยูสนิง หะมะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและแก้ไขปัญหาทุโภชนาการ ประจำปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4120-01-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการและแก้ไขปัญหาทุโภชนาการ ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและแก้ไขปัญหาทุโภชนาการ ประจำปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการและแก้ไขปัญหาทุโภชนาการ ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4120-01-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,630.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญต่อต่อารกพัฒนาประเทศ บุคคลอื่น ในครอบครัวที่มีส่วนอบรมเลี้ยงดูเด็ก หากเด็กได้รับความรัก ความอบอุ่น การอบรมเลี้ยงดูที่เหมาะสมถูกต้อง ส่งเสริมพัฒนาการและส่งเสริมการเรียนรุ้ ที่สอดคล้องกับวัยของเด้ก ได้รับอาหารถูกหลักโภชนาการ การดูแลเอาใจใส่ ความมั่นคง ปลอดภัย เด้กวัยนี้จะมีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรงพัฒนาการสมวัยทุกด้านทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคม พร้อมที่จะเติบโต เป็นประชากรที่มีคุณภาพในอนาคตต่อไป "เด็กวันนี้ คือผุ้ใหญ่ที่ดีในวันข้างหน้า" เป็นคำกล่าวที่ได้ยินมาช้านานเพื่อเป็นการกระตุ้นเตือนการฝึกอบรม สั่งสอน สิ่งดีๆ ต่างๆให้กับเด็ก เพื่อเมื่อเติบโตขึ้นจะเป็นผู้ใหญ่ในอนาคตที่มีคุณค่า พัฒนาประเทศชาติให้เจริญรุ่งเรือนต่อไป แต่การที่เด้กจะดีหรือเป็นเด็กดีได้นั้น องค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งคือการมีสุขภาพที่ดี ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต เพราะเมื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ไม่ดีหรือมีโรคภัยไข้เจ็บ ก้ไม่มีพลังที่จะพัฒนาตัวเองให้เป็นเด็กดีและเด็กเก่งได้เท่ากับผู้ที่มีสุขภาพที่ดี แต่ในประเทศปัจจุบันซึ่งเป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจอยู่อย่างเสมอ ทำให้คนเราต้องดิ้นรนทำลายมาหาเลี้ยงชีพตนเองหรือครอบครัว จนไม่มีเวลาดูเด็กหรือบุตรตนเอง รพ.สต บ้านแหร จึงเล็งเห็นความสำคัญ ปัญหาภาวะโภชนาการและพัฒนาการล่าช้า ในเด็ก -5 ปี โดยพบว่า การได้ข้อมูลปัญหาที่เป้นจริง จะทำให้แก้ไขปัญหาได้อย่างตรงจุด จึงเน้นประเด็นการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและพัฒนาการ เพื่อให้มีการดำเนินงานที่ครอบคลุมเป้าหมายและมีประสิทธิภาพของการคัดกรอง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการและแก้ไขปัญหาภาวะ ทุโภชานาการ ในเด็ก -5 ปี โดยเครือข่ายเฝ้าระวังและติดตาม ประจำปี 2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการแก้ไขปัญหาภาวะทุโภชนาการและส่งเสริมภาวะโภชนาการ
  2. 2. เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
  3. 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผุ้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถุกต้องเกี่ยวข้องการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2. การติดตามเยี่ยมบ้านเชิงรุกและการออกให้บริการประเมินภาวะดภชนาการเด็ก 0-5 ปี ทุกคน โดย อสม และเจ้าหน้าที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินโภชนาการ และพัฒนาการ คิดเป็นร้อยละ 90 2. ให้เด็ก 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 80 3. ให้เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย และสติปัญญา คิดเป็นร้อยละ 85 4. เด็ก 0-5 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัยและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก 5. เกิดเครือข่ายเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-5 ปี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2. การติดตามเยี่ยมบ้านเชิงรุกและการออกให้บริการประเมินภาวะดภชนาการเด็ก 0-5 ปี ทุกคน โดย อสม และเจ้าหน้าที่

วันที่ 3 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.กำหนดนโยบายและกิจกรรม 2.จัดกิจกรรมโครงการและชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแหร อสม.และภาคีข่าย 3.จัดทำมุมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแหร 4.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผุ้ปกครอง เรื่องภาวะโภชนาการและพัฒนาการตามวัยเด็ก 0-5 ปี แก่เครือข่ายเฝ้าระวังและติดตาม จำนวน เป้าหมาย 50 คน 5.จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้และติดตามเด็กที่ภาวะโภชนาการและพัฒนาการล่าช้าติดตามโดยทีมรณรงคื ปี 2 ครั้ง ต่อหนึ่งหมู่บ้าน 6.ประสานงานชั่งน้ำหนักเด็ก ร่วมกับ อสม.ทุกเดือน 3 เดือน 7. ติดตามชั่งน้ำหนักเด้กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการที่บ้าน และลงบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพฯทุกเดือน 8.ติดตามเฝ้าระวังในเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ทุกเดือน 9. ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 1. รายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จากการประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ประจำปี 2561 นั้นมีการจัดกิจกรรมการส่งเสริม ให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ในวันที่ 3 กันยายน 2561 จำนวน 50 คน การจัด อบรม ซึ่งผู้เข้ารับการอบรมเป็นแกนนดูแลสุขภาพ และผู้ปกครองที่มีบุตร-หลานที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต บ้านแหร โดยจัดอบรม ณ ห้องประชุม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแหร โดยผู้เข้ารับการอบรมครั้งนี้ ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงการเลี้ยงดูบุตรให้มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ และสามารถประเมินโภชนาการ พัฒานการเบื้องต้นได้ ในส่วนผลงานตามตัวชี้วัดงานโภชนาการและพัฒนาการนั้น การจัดโครงการดังกล่าวสามารถที่จะปรับปรุงและแก้ไขผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2561 ให้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ร้อยละ 90.02 เด็ก 0-5 ปี ได้รับการชั่งน้ำหนักจาก อสม. ทุกราย 2. ร้อยละ 57.50 มีภาวะโภชนาการน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ 3. ร้อยละ 97.67 เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการ 4. ร้อยละ 85.45 เด็กมีพัฒนาการปกติ 5. สามารถรู้ถึงสาเหตุที่ส่งผลให้เด็ก 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการที่สงสัยล่าช้าและทุพโภชนาการเป็นรายบุคคล เพื่อที่เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาและดำเนินการต่อไป

 

485 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.จากการประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ประจำปี 2561 นั้นมีการจัดกิจกรรมการส่งเสริม ให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ในวันที่ 3 กันยายน 2561 จำนวน 50 คน การจัด อบรม ซึ่งผู้เข้ารับการอบรมเป็นแกนนดูแลสุขภาพ และผู้ปกครองที่มีบุตร-หลานที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต บ้านแหร โดยจัดอบรม ณ ห้องประชุม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแหร โดยผู้เข้ารับการอบรมครั้งนี้ ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงการเลี้ยงดูบุตรให้มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ และสามารถประเมินโภชนาการ พัฒานการเบื้องต้นได้ ในส่วนผลงานตามตัวชี้วัดงานโภชนาการและพัฒนาการนั้น การจัดโครงการดังกล่าวสามารถที่จะปรับปรุงและแก้ไขผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2561 ให้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ร้อยละ 90.02 เด็ก 0-5 ปี ได้รับการชั่งน้ำหนักจาก อสม. ทุกราย 2. ร้อยละ 57.50 มีภาวะโภชนาการน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ 3. ร้อยละ 97.67 เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการ 4. ร้อยละ 85.45 เด็กมีพัฒนาการปกติ 5. สามารถรู้ถึงสาเหตุที่ส่งผลให้เด็ก 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการที่สงสัยล่าช้าและทุพโภชนาการเป็นรายบุคคล เพื่อที่เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาและดำเนินการต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการแก้ไขปัญหาภาวะทุโภชนาการและส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : 1.ความครอบคลุมการประเมินภาวะโภชนาการ ร้อยละ 100 2.ความครอบคลุมการประเมินพัฒนาการ ร้อยละ 100
0.00

 

2 2. เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
ตัวชี้วัด : เด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการต่ำและภาวะโภชนาการเกินได้รับการดูแลติดตาม ร้อยละ 100
0.00

 

3 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผุ้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถุกต้องเกี่ยวข้องการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : พัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผุ้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถุกต้องเกี่ยวข้องการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการแก้ไขปัญหาภาวะทุโภชนาการและส่งเสริมภาวะโภชนาการ (2) 2. เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา (3) 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผุ้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถุกต้องเกี่ยวข้องการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2. การติดตามเยี่ยมบ้านเชิงรุกและการออกให้บริการประเมินภาวะดภชนาการเด็ก 0-5 ปี ทุกคน โดย อสม และเจ้าหน้าที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและแก้ไขปัญหาทุโภชนาการ ประจำปีงบประมาณ 2561

รหัสโครงการ 61-L4120-01-16 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมพัฒนาการและแก้ไขปัญหาทุโภชนาการ ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4120-01-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายยูสนิง หะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด