กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนปริง


“ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนปริง ”

ตำบลควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกนิษฐา ช่วยยก

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนปริง

ที่อยู่ ตำบลควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 พฤษภาคม 2561 ถึง 22 พฤษภาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนปริง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนปริง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนปริง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนปริง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 พฤษภาคม 2561 - 22 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนปริง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคมโดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องเป็นกลไกลสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ ที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ดังนั้นเพื่อให้เกิดการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องอันได้แก่คณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพในพื้นที่ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงานกองทุนปลักประกันสุขภาพ อบต.ควนปริง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพและคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลควนปริง ประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้น เพื่อเพิ่มศักยภาพการทำงานของคณะกรรมการกองทุนแบบบูรณาการ และมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ให้เข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเอง ซึงจะต้องบริหารจัดการกองทุนฯ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ซึ่งเป็ฯการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หาประสบการณ์จากกองทุนต้นแบบที่ประสบความสำเร็จ การดำเนินการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ในความรับผิดชอบสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขทั้งที่บ้านในชุมชนหรือหน่วยบริการได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ และคณะทำงานของกองทุนได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานกองทุนอย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อให้เกิดการแลกเปผลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ดำเนินงานและทิศทางของระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    คณะกรรมการกองทุนฯได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานกองทุนอย่างมีประสิทธิภาพได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดำเนินงานและทิศทางของระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ และคณะทำงานของกองทุนได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานกองทุนอย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อให้เกิดการแลกเปผลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ดำเนินงานและทิศทางของระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ และคณะทำงานของกองทุนได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานกองทุนอย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อให้เกิดการแลกเปผลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ดำเนินงานและทิศทางของระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนปริง จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวกนิษฐา ช่วยยก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด