กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสูงวัยอนามัยดี ”
ณ สมาคมบำรุงราษฎร์ ชุมชนสวนผัก ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายสุธรรม บัวแก่น




ชื่อโครงการ โครงการสูงวัยอนามัยดี

ที่อยู่ ณ สมาคมบำรุงราษฎร์ ชุมชนสวนผัก ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2561/L7161/2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 สิงหาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสูงวัยอนามัยดี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ สมาคมบำรุงราษฎร์ ชุมชนสวนผัก ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยอนามัยดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสูงวัยอนามัยดี " ดำเนินการในพื้นที่ ณ สมาคมบำรุงราษฎร์ ชุมชนสวนผัก ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2561/L7161/2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,640.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในทศวรรษนี้ การสูงวัยของประชากรเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศต่างๆทั่วโลกพ.ศ. ๒๕๕๙ ในประเทศไทยมีประชากร ผู้สูงอายุที่อายุ 60 ปีขึ้นไปประมาณ 11 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 16.5 ในขณะที่ประชากรรวมของประเทศไทยเพิ่มด้วยอัตราที่ช้าลงอย่างมาก ประชากรสูงอายุกลับเพิ่มขึ้นด้วยอัตราที่สูงมาก ในอนาคตอันใกล้ ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ในอีกประมาณ 5 ปีข้างหน้า การมีสัดส่วนผู้สูงอายุสูงขึ้นย่อมหมายถึงภาระของรัฐ ชุมชน และครอบครัว ในการดูแลสุขภาพ ค่าใช้จ่ายในการยังชีพ และการดูแลเกี่ยวกับการอยู่อาศัยที่เหมาะสม ที่จะต้องสูงขึ้นตามไปด้วย การมองเรื่องผู้สูงอายุกันใหม่ จากภาพของคนแก่ทำอะไรไม่ได้ เจ็บออดแอด รอวันตาย ไปสู่การเป็นผู้ที่มีอายุยืนยาวและมีสุขภาพจิตและสุขภาพกายที่แข็งแรง รวมถึงมีคุณภาพชีวิตที่ดี เพราะช่วงอายุจาก 60 ปีถึง 80 ปี เป็นเวลาอีกไม่น้อย จึงเป็นช่วงเวลาที่สามารถดำรงรักษาสุขภาพ ทำการงานที่เป็นประโยชน์ และมีความสุข ดังนั้น การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ จะเป็นรูปธรรมได้นั้นทุกคนในชุมชนจะต้องได้รับการปลูกฝังให้มีพื้นฐานทางด้านจิตสำนึก ด้านความคิดที่จะต้องให้ความสนใจใส่ใจดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุให้สมบูรณ์แข็งแรงรวมทั้งมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีอายุยืนยาวดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ชุมชนสวนผัก มีผู้สูงอายุทั้งหมด จำนวน 256 ราย พบเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 86 ราย โรคเบาหวาน จำนวน 28 ราย โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 15 ราย และกลุ่มเฝ้าระวัง จำนวน 127 ราย (ข้อมูลจาก PCU ศาลาประชาคม) ด้วยความตระหนักถึงปัญหาและภัยของภาวะโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ให้อยู่อย่างสุขภาพดีมีอนามัย ชุมชนสวนผักจึงได้จัดทำโครงการสูงวัยอนามัยดี ประจำปี 2561ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเองของผู้สูงอายุ
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะทำกิจกรรมร่วมกันและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
  4. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ผู้สูงอายุในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้กับตนเอง
  5. เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในแต่ละครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ/อาหารสำหรับผู้สูงอายุ/การขับถ่าย/การพักผ่อน/การใช้ยาอย่างปลอดภัย/อยู่อย่างไรให้มีความสุข

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจวิธีการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง
  2. ผู้สูงอายุมีขวัญและกำลังใจ ในการส่งเสริมสุขภาพของตนเองในชีวิตประจำวันเพิ่มขึ้น
  3. ผู้สูงอายุได้พบปะและร่วมกันทำกิจกรรม เกิดความรัก ความผูกพันและความอบอุ่นในครอบครัว

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ/อาหารสำหรับผู้สูงอายุ/การขับถ่าย/การพักผ่อน/การใช้ยาอย่างปลอดภัย/อยู่อย่างไรให้มีความสุข

วันที่ 22 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมเพื่อวางแผน
  2. เสนอโครงการฯ เพื่อขออนุมัติ
  3. ประชาสัมพันธ์และเชิญชวนให้ประชาชนมาร่วมงาน
  4. ประสานวิทยากรและสถานที่ฝึกอบรม 5.จัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ ตรวจสุขภาพ ซักประวัติ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต/ตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด นิทรรศการเกี่ยวกับผู้สูงอายุ การให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
  5. สรุปผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินกิจกรรมเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ 55640 บาท งบประมาณที่เบิกจ่ายจริง 55640 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณที่เหลือคืนกองทุน 0 บาท คิดเป็นร้อยละ 0

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเองของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีพัฒนาการสามารถช่วยเหลือตนเองเพื่อสุขภาพ กาย ใจ ที่ดี
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะทำกิจกรรมร่วมกันและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจและมีความสุขในการทำกิจกรรม
0.00

 

4 เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ผู้สูงอายุในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้กับตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าอบรมมีกำลังใจในการดูแลสุขภาพตนเองให้ปลอดภัยจากโรคเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
0.00

 

5 เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในแต่ละครอบครัว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรมเกิดความรัก ความผูกพันและความอบอุ่นในครอบครัว
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเองของผู้สูงอายุ  (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ  (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะทำกิจกรรมร่วมกันและแลกเปลี่ยนประสบการณ์  (4) เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ผู้สูงอายุในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้กับตนเอง  (5) เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในแต่ละครอบครัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ/อาหารสำหรับผู้สูงอายุ/การขับถ่าย/การพักผ่อน/การใช้ยาอย่างปลอดภัย/อยู่อย่างไรให้มีความสุข

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสูงวัยอนามัยดี จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2561/L7161/2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุธรรม บัวแก่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด