กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับพฤติกรรมเดิม เพิ่มพฤติกรรมใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง
รหัสโครงการ 60-50114-1-12
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโละจูด
วันที่อนุมัติ 6 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจิตนา เลาะนะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 5.831,101.834place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรงเรื้อรังเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ การรักษาเป็นเพียงแค่การประคองไม่ให้โรคลุกลามขึ้น และผู้ป่วยต้องรักษาต่อเนื่องเป็นเวลานาน หรือส่วนใหญ่ต้องรักษาไปตลอดชีวิต ซึ่งนอกจากจะบั่นทอนสุขภาพกายและสุขภาพกายและสุขภาพจิตแล้ว ยังเป็นการสูญเสียทางเศรษฐกิจของผู้ป่วยเอง และส่งผลถึงเศษฐกิจ ของประเทศโดยรวมด้วย และหากผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมโรคได้ ก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพที่รุนแรงตามมา ถึงขั้นพิการและเสียชีวิตได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีกลุ่มเสี่ยง/ผู้สนใจอื่นๆมีความรู้ความเข้าใจ เห็นความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ประชาชนอายุ ๓๕ ปีกลุ่มเสี่ยง/ผู้สนใจอื่นๆได้ความรู้ความเข้าใจ เห็นความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

2 เพื่อให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์/เสวนากลุ่ม เรื่องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ได้รับความรู้ ประชาสัมพันธ์/เสวนากลุ่ม เรื่องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

3 เพื่อให้ มีชมรมคนอาสาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยชุมชน

มีชมรมคนอาสาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยชุมชน

4 เพื่อลดความเสี่ยงอัมพฤกษ์ ๓อ ๒ส

ลดความเสี่ยงอัมพฤกษ์ ๓อ ๒ส

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  • ขั้นเตรียมการ
  • ประชุมเพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนินงาน
  • ปรึกษาหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
  • เขียนโครงการเพื่อเสนออนุมัติ
  • ประชุมชี้แจงเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนิน
  • ประชาสัมพันธ์โครงการในทุกช่องทาง ผ่านหอกระจายข่าว ในทุกหมู่บ้านและบริการ
  • ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
  • สรุป ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนอายุ ๓๕ ปีกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยเบาหวานและความดัน

โลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจเห็นความสำคัญของการเปลี่ยนพฤติกรรม ๒. ประชาชนอายุ ๓๕ ปีกลุ่มเสี่ยง/ผู้สนใจอื่นๆ สามารถ ลดน้ำหนัก เป็น Role model ในการลดน้ำหนักต่อไป ๓. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ป่วยเป็นอัมพฤกาลดลง ๔. มีชมรมคนอาสาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยชุมชน เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 ม.ค. 2560 10:10 น.