กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนชุมชนกือติง ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายอาซัน การี




ชื่อโครงการ โครงการอบรมป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนชุมชนกือติง

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2561/L7161/2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนชุมชนกือติง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนชุมชนกือติง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนชุมชนกือติง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2561/L7161/2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อุบัติเหตุทางถนนเป็นสาเหตุสําคัญในลําดับต้นๆ ของการบาดเจ็บและเสียชีวิตของประชาชนรวมทั้งทําให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งรัฐบาลต้องใช้งบประมาณในการเยียวยาและแก้ปัญหาในแต่ละปีจํานวนอุบัติเหตุเหล่านี้มักมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน อาทิ ปัจจัยด้านพฤติกรรมของผู้ขับขี่ ปัจจัยด้านรถหรือยานพาหนะ ปัจจัยด้านถนนและสิ่งแวดล้อม และปัจจัยด้านบริหารจัดการอุบัติเหตุทางถนนมิได้เกิดเฉพาะเส้นทางสายหลักเท่านั้น ซึ่งพบว่าในปัจจุบันการเกิดอุบัติเหตุได้เกิดขึ้นบนถนนสายรองเพิ่มมากขึ้น เช่นถนนเชื่อมต่อระหว่างเขตอําเภอหรือแม้กระทั้งถนนสายรองภายในชุมชน ซึ่งสาเหตุมาจากการที่ผู้ขับขี่ไม่มีจิตสํานึก วินัยจราจร ขับรถด้วยความเร็วสูง เมาสุราประมาทขณะขับขี่ทั้งรถจักรยานยนต์และรถยนต์ โครงการอบรมป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน จึงมีความจําเป็นที่ต้องมีดําเนินการอย่างจริงจัง เพื่อลดจํานวนอุบัติเหตุทางถนนและจํานวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตลงให้มากที่สุด จากสถิติอุบัติเหตุในเขตเทศบาลเมืองเบตง จังหวัดยะลา ปี 2559 เหตุเกิดจำนวน 149 ครั้งพบผู้ได้รับบาดเจ็บจำนวน 247 ราย มีผู้เสียชีวิต จำนวน 4 ราย และปี 2560 เหตุเกิดจำนวน 145 ครั้ง พบผู้ได้รับบาดเจ็บจำนวน 240 ราย มีผู้เสียชีวิต จำนวน 3 ราย (ข้อมูลจากงานจราจร สถานีตำรวจภูธร อำเภอเบตง ณ วันที่ 3 เมษายน 2561) ในส่วนของชุมชนกือติงจะพบว่า เส้นทางย่อยของชุมชน โดยเฉพาะ เส้นทางลงสามแยกกุนุงจนอง และสามแยกชุมชนบูเก็ตตักโกร จะพบว่าเส้นทางดังกล่าวจะเกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง ซึ่งสาเหตุอาจเกิดจากความประมาท เมาสุรา และความคึกคะนองของเยาวชน คณะกรรมการชุมชนกือติง ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทํา “โครงการอบรมป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนชุมชนกือติง” ขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมของผู้ขับขี่และยานพาหนะ รวมทั้งรณรงค์เพื่อกระตุ้นเตือนประชาชนในท้องถิ่นให้เกิดจิตสํานึก มีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคมในการป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนซึ่งน่าจะเป็นทางเลือกใหม่ที่มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันและลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุและสูญเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
  2. เพื่อเสริมสร้างจิตสํานึกในเรื่องความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
  3. เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐและเอกชนในการแก้ไข ปัญหาอุบัติเหตุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ฝึกอบรมป้องกันและอุบัติเหตุทางถนน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนผู้สัญจรไปมาได้รับความปลอดภัยจากชีวิตและทรัพย์สิน
  2. สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประชาชน
  3. ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนน
  4. ลดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนที่เกิดอุบัติเหตุทางถนน
  5. รัฐประหยัดงบประมาณในการเยียวยาและแก้ปัญหาการเกิดอุบัติเหตุ การบาดเจ็บและการเสียชีวิต ของประชาชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ฝึกอบรมป้องกันและอุบัติเหตุทางถนน

วันที่ 25 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกอบรมป้องกันและอุบัติเหตุทางถนน ให้แก่เยาวชนและประชาชนในชุมชนกือจติงและชุมชนใกล้เคยง จำนวน 120 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ยาวชนและประชาชนในชุมชนกือจติงและชุมชนใกล้เคยง จำนวน 120 คน ได้รับความรู้ในการป้องกันและอุบัติเหตุทางถนน

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

งบประมาณท่ได้รับนุมัติ 28400 บาท
งบประมาณที่เบิกจ่ายจริง  28400 บาท
คิดเป็นร้อยละ 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันและลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุและสูญเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎจราจร การขับขี่อย่างปลอดภัยและการป้องกันอุบัติเหตุทางท้องถนน
0.00

 

2 เพื่อเสริมสร้างจิตสํานึกในเรื่องความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมการขับขี่ถูกต้องตามกฎจราจร และขับขี่อย่างปลอดภัยมากขึ้น
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐและเอกชนในการแก้ไข ปัญหาอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : มีการจัดตั้งกลุ่มเสริมสร้างวินัยจราจรในชุมชนและสามารถสร้างภาคีเครือข่ายการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันและลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุและสูญเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน (2) เพื่อเสริมสร้างจิตสํานึกในเรื่องความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน (3) เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐและเอกชนในการแก้ไข ปัญหาอุบัติเหตุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ฝึกอบรมป้องกันและอุบัติเหตุทางถนน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนชุมชนกือติง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2561/L7161/2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาซัน การี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด