โครงการส่งเสริมสุขภาพทันตสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังในตำบลนาโต๊ะหมิง
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพทันตสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังในตำบลนาโต๊ะหมิง |
รหัสโครงการ | 60-L1492-1-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโต๊ะหมิง |
วันที่อนุมัติ | 30 ธันวาคม 2559 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2560 - 31 มีนาคม 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 24,125.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | กองทุนบัตรประกันสุขภาพอนามัย ต.นาโต๊ะหมิง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนาโต๊ะหมิง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.556,99.527place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 225 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : ระบุ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโต๊ะหมิงและกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาโต๊ะหมิง อำเภอเมืองตรัง ได้เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้ป่วยเรื้อรัง จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพทันตสุขภาพช่องปากผู้ป่วยเรื้อรัง เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุ และเป็นการค้นหาเพื่อส่งต่อในรายที่มีปัญหา
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อสร้างแกนนำในกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี จัดอบรมแกนนำในกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง จำนวน 60 คน |
||
2 | 2.เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากเบื้องต้น พร้อมส่งต่อผู้ที่มีปัญหา ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากเบื้องต้นในผู้ป่วยเรื้อรัง พร้อมส่งต่อผู้ที่ปัญหาสุขภาพช่องปาก ผู้ป่วยความดันเบาหวาน จำนงวน 225 คน |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.จัดทำแผนงาน โครงการเสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาโต๊ะหมิง 2.ประสานงานจัดหาวิทยากรจากเครือข่ายทันตสาธารณสุข 3.ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากเบื้องต้นในผู้ป่วยเรื้อรัง พร้อมส่งต่อผู้ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก 4.จัดอบรมแกนนำในกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังจำนวน 60 คน 5.ประเมินผลโครงการ 6.สรุปผลการทำโครงการ
1.ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเรื้อรังที่เข้าร่วมอบรมมีความรู้ในเรื่องการดูแลช่องปากที่ถูกวิธี 2.ร้อยละ 90 ผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากเบื้องต้น พร้อมส่ง ต่อผู้ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากมารับบริการรักษาที่สถานบริการ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ก.พ. 2560 10:28 น.