กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหนูน้อยปันแต ฟันสวย สุขภาพช่องปากดี ”
ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางทัศนีย์ คงเทพ




ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยปันแต ฟันสวย สุขภาพช่องปากดี

ที่อยู่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยปันแต ฟันสวย สุขภาพช่องปากดี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยปันแต ฟันสวย สุขภาพช่องปากดี



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนมีความรู้ในการส่งเสริมทันตสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้และจัดกิจกรรรม ตามกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาทันตสุขภาพเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่ง ซึ่งได้ทวีความรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน ซึ่งโรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ ๑ – ๓ ปี โดยประกอบด้วยปัจจัยหลาย ๆ อย่าง สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุมาจากพฤติกรรมของผู้ปกครองในการเลี้ยงดูที่ไม่ถูกต้อง ทั้งโครงสร้างของอาหารที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้มีผลต่อการดูแลรักษาฟันและการดูแลทำความสะอาดช่องปากเด็กไม่ถูกวิธี จึงส่งผลให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและยังส่งผลต่อการเจริญเติบโตและการพัฒนาการของเด็ก
จากการสำรวจสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียน ๓–๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแต ซึ่งเป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลปันแต ปี ๒๕๖๐ พบว่า เด็กมีปัญหาโรคฟันผุ คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๑๗ มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ๒.๙๔ ซี่/คน และเด็กอายุ ๓ – ๕ ปีที่ปราศจากฟันผุคิดเป็นร้อยละ ๔๐.๕๘ โดยพบว่าเด็กส่วนใหญ่ยังมีปัญหาสุขภาพช่องปาก ทั้งนี้ปัญหาทันตสุขภาพนั้นจะก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งสุขภาพร่างกายและจิตใจ รวมทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม แต่ปัญหาฟันผุเป็นปัญหาที่สามารถแก้ไขและป้องกันได้ โดยต้องอาศัยการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กจากผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็ก ประกอบกับการปลูกฝังนิสัยที่ถูกต้องและเหมาะสมให้กับเด็ก ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการให้ทันตสุขศึกษาแก่ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียน จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยปันแต ฟันสวย สุขภาพช่องปากดี เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุในเด็ก และส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้องและเหมาะสมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนมีความรู้ในการส่งเสริมทันตสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้และจัดกิจกรรรม ตามกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 88
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแตมีฟันผุลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้และจัดกิจกรรรม ตามกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้

วันที่ 21 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

-กลวิธีการดำเนินการ   1. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย   2 จัดทำแผนงานโครงการ/ขออนุมัติโครงการ   3 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง   4 ดำเนินงานตามแผนงานโครงการ   5 ให้ความรู้และจัดกิจกรรรม ตามกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้   6 สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน -เป้าหมาย 1  ผู้ปกครองเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอ        จำนวน 45 คน 2  ผู้ปกครองเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแต      จำนวน 43 คน -ระยะเวลาดำเนินการ
วันที่ 19 มิถุนายน 2561  ให้ความรู้และจัดกิจกรรรม ศพด. บ้านควนปันแต วันที่ 21 มิถุนายน 2561 ให้ความรู้และจัดกิจกรรรม ศพด. บ้านสำนักกอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้มีการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมกิจกรรม และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากบุตรหลานได้ถูกต้อง 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น  ร้อยละ 84.1 3.กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 90.9 -บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ 3.การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ.................. 5,072...........................บาท ดังนี้

- ค่าแปรงสีฟัน จำนวน 88 ด้าม  x 10  บาท  เป็นเงิน 880 บาท - ค่ายาสีฟัน จำนวน ๘๘ ด้าม x  20 บาท  เป็นเงิน  1,760 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัด จำนวน 90 คน x 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท - ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการจำนวน 88 แผ่น x 0.5 บาท  เป็นเงิน  44 บาท - ค่าถ่ายเอกสารแบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 176 แผ่น x 0.5 บาท เป็นเงิน 88  บาท - ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 แผ่น x 0.5 บาท เป็นเงิน 50 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  5,072 บาท (ห้าพันเจ็ดสิบสองบาท) งบประมาณเบิกจ่ายจริง ......................... 5,072.....................บาทคิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ............. .-........................บาท คิดเป็นร้อยละ- 4.ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) 1. ผู้ปกครองส่วนใหญ่ยังไม่ทราบถึงปัญหาและความรุนแรงของโรคฟันผุ ที่จะเกิดขึ้นในกลุ่มเด็กอายุ 3 – 5 ปี
2. พ่อ-แม่ เด็กบางส่วนไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการเนื่องจากต้องไปทำงาน เลยให้ปู่ ย่า ตา หรือยายของเด็กมาร่วมกิจกรรมแทน ทำให้พ่อ-แม่เด็กอาจจะไม่ได้รับความรู้ที่ถ่ายทอดตรงจากวิทยากร แนวทางแก้ไข(ระบุ) 1. ควรมีการอธิบายให้ผู้ปกครองเข้าใจถึงปัญหาสุขภาพช่องปากที่เกิดในกลุ่มเด็กอายุ 3–5 ปี เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญในการทำความสะอาดช่องปากให้กับบุตรหลาน 2. ควรจะมีการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองเด็กรับทราบถึงความสำคัญในการจัดโครงการครั้งนี้ รวมทั้งจัดทำเอกสารเพื่อให้ผู้ปกครองได้นำกลับไปอ่านทบทวนซ้ำอีกครั้ง ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ โครงการหนูน้อยปันแต ฟันสวย สุขภาพช่องปากดี ปี 2561 ทำให้ผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ความเข้าใจ ที่ถูกต้องและถูกวิธีในการดูแลความสะอาดช่องปากของบุตรหลาน เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุ และปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กเล็ก และผู้ปกครองสามารถทำความสะอาดช่องปากให้บุตรหลานได้ถูกถูกวิธี จึงควรให้มีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

 

88 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ได้มีการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมกิจกรรม และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากบุตรหลานได้ถูกต้อง 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น      ร้อยละ 84.1 3.กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 90.9 บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ 3.การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ.................. 5,072...........................บาท ดังนี้

- ค่าแปรงสีฟัน จำนวน 88 ด้าม  x 10 บาท เป็นเงิน 880 บาท - ค่ายาสีฟัน จำนวน ๘๘ ด้าม x 20 บาท เป็นเงิน 1,760 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัด จำนวน 90 คน x 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท - ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการจำนวน 88 แผ่น x 0.5 บาท เป็นเงิน 44 บาท - ค่าถ่ายเอกสารแบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 176 แผ่น x 0.5 บาท เป็นเงิน 88 บาท - ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 แผ่น x 0.5 บาท เป็นเงิน 50 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,072 บาท (ห้าพันเจ็ดสิบสองบาท) งบประมาณเบิกจ่ายจริง ......................... 5,072.....................บาทคิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ............. .-........................บาท คิดเป็นร้อยละ- ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) 1. ผู้ปกครองส่วนใหญ่ยังไม่ทราบถึงปัญหาและความรุนแรงของโรคฟันผุ ที่จะเกิดขึ้นในกลุ่มเด็กอายุ 3 – 5 ปี
2. พ่อ-แม่ เด็กบางส่วนไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการเนื่องจากต้องไปทำงาน เลยให้ปู่ ย่า ตา หรือยายของเด็กมาร่วมกิจกรรมแทน ทำให้พ่อ-แม่เด็กอาจจะไม่ได้รับความรู้ที่ถ่ายทอดตรงจากวิทยากร แนวทางแก้ไข(ระบุ) 1. ควรมีการอธิบายให้ผู้ปกครองเข้าใจถึงปัญหาสุขภาพช่องปากที่เกิดในกลุ่มเด็กอายุ 3–5 ปี เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญในการทำความสะอาดช่องปากให้กับบุตรหลาน 2. ควรจะมีการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองเด็กรับทราบถึงความสำคัญในการจัดโครงการครั้งนี้ รวมทั้งจัดทำเอกสารเพื่อให้ผู้ปกครองได้นำกลับไปอ่านทบทวนซ้ำอีกครั้ง ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ โครงการหนูน้อยปันแต ฟันสวย สุขภาพช่องปากดี ปี 2561 ทำให้ผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ความเข้าใจ ที่ถูกต้องและถูกวิธีในการดูแลความสะอาดช่องปากของบุตรหลาน เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุ และปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กเล็ก และผู้ปกครองสามารถทำความสะอาดช่องปากให้บุตรหลานได้ถูกถูกวิธี จึงควรให้มีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนมีความรู้ในการส่งเสริมทันตสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแตมีฟันผุลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 88 88
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 88 88
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนมีความรู้ในการส่งเสริมทันตสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้และจัดกิจกรรรม ตามกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยปันแต ฟันสวย สุขภาพช่องปากดี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางทัศนีย์ คงเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด