โครงการหมั่นสระ หมั่นสาง จะห่างเหา
ชื่อโครงการ | โครงการหมั่นสระ หมั่นสาง จะห่างเหา |
รหัสโครงการ | 60-L2984-2-5 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านนาค้อเหนือ |
วันที่อนุมัติ | 25 มกราคม 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 18,115.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางรุจิรา ขุนภิบาล |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | โรงเรียนบ้านนาค้อเหนือ ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.701,101.116place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 45 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : ระบุ |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากการสำรวจของฝ่ายพยาบาลโรงเรียนบ้านนาค้อเหนือ พบว่านักเรียนหญิงร้อยละ 100 เป็นโรคเหาซึ่งโรคเหาเป็นโรคที่พบมากในเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนหญิง ซึ่งอาจเกิดจากครอบครัวที่ขาดการดูแลเอาใจใส่บุตรหลาน หรือสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวมีฐานะยากจนไม่เอื้อต่อการเอาใส่ใจสุขภาพบุตรหลาน ไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย เครื่องนอน และเป็นโรคที่น่ารังเกียจ สำหรับคนทั่วไปอีกทั้งยังทำให้สุขภาพไม่ดี เสียสมาธิในการเรียน ก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็น เนื่องจากมีอาการคันศรีษะ ดังนั้นหากโรงเรียนวางรากฐานให้กับผู้ปกครอง นักเรียนและครูเรื่องสุขภาพพร้อมกับการสอดแทรกความรู้เรื่องโรคเหาที่ถูกวิธีและเหมาะสมกับเด็กๆ เพื่อให้เด็กนักเรียนได้ตระหนักเห็นถึงความสำคัญและปัญหาของโรคเหา ปัจจุบันโรงเรียนบ้านนาค้อเหนือประกอบด้วยนักเรียน จำนวน 98 คน บุคลากรครูผู้สอน จำนวน 13 คน และจำนวนนักเรียนหญิงที่มีสุขภาวะสุขภาพที่เป็นปัญหาโรคเหา จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งถือว่าเป็นสภาพที่เป็นปัญหาตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขที่ต้องเร่งทำการแก้ไข ด้วยเหตุนี้โรงเรียนบ้านนาค้อเหนือได้เห็นถึงความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการหมั่นสระ หมั่นสาง จะห่างเหานี้ขึ้นมา
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนดูแลรักษาสุขภาวะของตนเอง
|
||
2 | เพื่อลดอัตราการเกิดเหาในเด็กนักเรียนที่เคยเป็นแล้วไม่กลับมาเป็นซ้ำ
|
||
3 | เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหาในนักเรียนทุกคน
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนดูแลรักษาสุขภาวะของตนเอง |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อลดอัตราการเกิดเหาในเด็กนักเรียนที่เคยเป็นแล้วไม่กลับมาเป็นซ้ำ |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหาในนักเรียนทุกคน |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
1.เสนอ/อนุมัติโครงการ 2.ประชุมวางแผน/แต่งตั้งคณะทำงาน 3.ดำเนินการตามแผน - จัดกิจกรรมกำจัดเหาให้กับนักเรียน (4 ครั้งต่อ 1 เดือน) - จัดทำแผน เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร(แผ่นพับ) สื่อที่ใช้ในการให้ความรู้กับนักเรียน - จัดบอร์ดให้ความรู้เรื่อง สุขบัญญัติ 10 ประการ และวงจรชีวิตของเหา การติดต่อ การควบคุมเหา ความรู้เรื่องวิธีการกำจัดเหาแก่นักเรียนในโรงเรียน และผู้ปกครอง 4.ประเมิน/สรุป/รายงานผล
1.จำนวนนักเรียนที่มีปัญหาเรื่องเหาลดลงจากจำนวนที่เป็นเหา 2.จำนวนนักเรียนรายใหม่ไม่เกิดเหา และนักเรียนที่เคยเป็นแล้วไม่กลับมาเป็นซ้ำอีก 3.ผู้ปกครองและนักเรียนดูแลรักษาสุขภาวะของตนเองได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ก.พ. 2560 15:26 น.