โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2560
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2560 |
รหัสโครงการ | 60-L5254-1 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.คูหา |
วันที่อนุมัติ | 26 มกราคม 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 26 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 58,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายสอาด เหล็บหนู |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.61,100.833place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรียในพื้นที่ตำบลคูหา
|
||
2 | เพื่อลดความชุกชุมของพาหะนำโรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย
|
||
3 | เพื่อให้ประชาชนตำบลคูหา มีความรู้ที่ถูกต้อง ตระหนักและให้ความสำคัญในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย
|
||
4 | เพี่อควบคุมโรคอุบัติการณ์ซ้ำและโรคอุบัติการณ์ใหม่ ที่ทันท่วงที
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
4 ก.พ. 60 - 30 ก.ย. 60 | 1) ดำเนินการพ่นหมอกควัน เพื่อทำลายยุงตัวแก่ จำนวน 2 ครั้ง จัดซื้อสเปรย์ฉีดยุงให้บ้านที่มีผู้ป่วยเพื่อทำลายุงพาหนะทันที 2) สร้างทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับหมู่บ้าน 3) ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทั้งทางกายภาพและทางเคมี - รณรงค์ทำลายภาชนะน | 0 | 58,000.00 | - | ||
รวม | 0 | 58,000.00 | 0 | 0.00 |
1) ดำเนินการพ่นหมอกควัน เพื่อทำลายยุงตัวแก่ จำนวน 2 ครั้งจัดซื้อสเปรย์ฉีดยุงให้บ้านที่มีผู้ป่วยเพื่อทำลายุงพาหนะทันที
2) สร้างทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับหมู่บ้าน
3) ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทั้งทางกายภาพและทางเคมี
- รณรงค์ทำลายภาชนะน้ำขัง และปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณรอบบ้าน
- แจกสารเคมีกำจัดลูกน้ำยุงลาย
4) กิจกรรมคลื่นสุขภาพ
- จัดกิจกรรมรณรงค์ครั้งใหญ่ทุกหมู่บ้านเพื่อสร้างกระแสความตื่นตัวโรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรีย
- ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย รวมทั้งเรื่องสุขภาพอื่น ๆ ผ่านแกนนำ อสม.และผู้นำชุมชน โดยใช้สื่อ ได้แก่ หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน มัสยิด แผ่นพับ แผ่นป้าย และเสียงตามสายในโรงเรียน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2560 10:29 น.