โครงการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเกษตรกรโดยการใช้สมุนไพรล้างพิษ
ชื่อโครงการ | โครงการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเกษตรกรโดยการใช้สมุนไพรล้างพิษ |
รหัสโครงการ | 60-L5254-1 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.คูหา |
วันที่อนุมัติ | 26 มกราคม 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 14,200.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางประภัสสรซุ้นห้วน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.61,100.833place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อประเมินความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเกษตรกรโดยใช้สมุนไพรล้างพิษ
|
||
2 | เพื่อให้เกษตรสามารถปลูกพืชสมุนไพรล้างพิษใช้เองได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.จัดประชุมชี้แจงและให้ความรู้กับ จนท.เรื่องแนวทางดำเนินงาน วิธีตรวจเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส ความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การใช้สมุนไพรล้างพิษ วิธีการล้างผักให้ปลอดภัย การให้ความรู้ อสม.เรื่องอันตรายจากการใช้สารกำจัดศัตรูพืช และความรู้เรื่องสมุนไพรรางจืด โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข มีการประเมินความเสี่ยงของเกษตรกร โดยใช้แบบประเมินความเครียด ST-5 เมื่อพบว่ามีความเสี่ยงก็จะได้รับการบำบัดรักษาจากสถานพยาบาลสาธารณสุขตามสภาพปัญหา 2. ให้บริการตรวจเลือดหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส ในเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่สัมผัสสารกำจัดศัตรูพืช โดยจัดหาชุดตรวจการแพ้สารพิษ และกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส 3. จัดหาสมุนไพรรางจืด เพื่อล้างพิษหรือสมุนไพรอื่นๆ สำหรับเกษตรกรที่มีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยจากการตรวจระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส สนับสนุนสถานบริการสาธารณสุข 4. จัดทำโครงการปลูกพืชสมุนไพรรางจืดล้างพิษ 5. ประชาสัมพันธ์ทางสื่อท้องถิ่น วิทยุ ชุมชน เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ ให้ความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช วิธีการล้างให้ปลอดภัย การใช้มุนไพรล้างพิษ การป้องกันความเครียดสำหรับเกษตรกร ทางเลือกอื่นในการทดแทนการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช 6. ตรวจพืชผักผลไม้เพื่อฝ้าระวังสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 7. ส่งเสริมให้โรงพยาบาลสนับสนุนการซื้อพืชผักผลไม้ปลอดภัยจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชจากเกษตรกรที่ปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เพื่อประกอบอาหาร 8. สนับสนุนพันธุ์พืชที่มีสรรพคุณขับล้างสารพิษให้แก่เกษตรกร 9. จัดทำรายงานการดำเนินงานและสรุป วิเคราะห์การประเมินความเสี่ยง ลงในโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลตามแบบ นบก.1
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2560 12:44 น.