กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลคูหา ปี 2560
รหัสโครงการ 60-L5254-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.ทัพหลวง
วันที่อนุมัติ 26 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 60,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนเรศดวงยอด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.61,100.833place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลคูหาลง ร้อยละ 70 และโรคมาลาเรีย ร้อยละ 50 จากปี 2559

 

2 เพื่อให้การเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรียเป็น 0

 

3 เพื่อลดความชุกชุมของ พาหะนำโรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย

 

4 เพื่อให้ประชาชนตำบลคูหา มีความรู้ที่ถูกต้อง ตระหนักและให้ความสำคัญในการควบคุมและป้องกันโรค

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1) ทบทวน ฟื้นฟู เพื่อเพิ่มศักยภาพ ทีมสอบสวน โรคเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)ระดับหมู่บ้าน 2) ดำเนินการพ่นหมอกควัน เพื่อทำลายยุงตัวแก่ จำนวน 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์ 3) ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทั้งทางกายภาพและทางเคมี 4) กิจกรรมคลื่นสุขภาพ 5) การรณรงค์ควบคุมป้องกันในโรงเรียน โดยให้บุคลากรในโรงเรียนได้มีความรู้และปฏิบัติตามใช้มาตรการควบคุมป้องกันอย่างต่อเนื่อง โดยมีการประกวดผลการปฏิบัติระหว่างโรงเรียน 6) เจาะเลือดเพื่อตรวจคัดกรองผู้ที่สงสัย/สัมผัสกับผู้ป่วย หรือ อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยง หรือมีการระบาดของโรคไข้มาลาเรียเพื่อสกัดกั้นการระบาดและแพร่เชื้ออย่างทันท่วงที 7) ดำเนินการพ่นเคมีฤทธิ์ตกค้าง(เดลต้า วิธทริน)ที่บ้าน เพื่อทำลายยุงตัวแก่ ป้องกันโรคมาลาเรีย จำนวน 2 ครั้ง ห่างกัน 6 เดือน 8) ดำเนินการพ่นหมอกควัน/พ่นULV เพื่อทำลายยุงลายตัวแก่ จำนวนหมู่บ้านละ 2ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์ เป็นการป้องกันโรคมาลาเรีย 9) ดำเนินการพ่นหมอกควัน/พ่นULVเพื่อทำลายยุงตัวแก่ จำนวน 4 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์ในกรณีมีการระบาดของโรคมาลาเรีย

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2560 13:00 น.