โครงการ อย. น้อย
ชื่อโครงการ | โครงการ อย. น้อย |
รหัสโครงการ | 60-L5254-1 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.ทัพหลวง |
วันที่อนุมัติ | 20 มีนาคม 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 6 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 19,590.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางนภาพ แก้วสองสี |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.61,100.833place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 92 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี เช่น ไม่บริโภคน้ำอัดลม ไม่บริโภคอาหารขยะบริโภคนม ผัก ผลไม้ การใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้อง อ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสำอางก่อนใช้
|
||
2 | เพื่อให้นักเรียนได้มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และได้ช่วยเหลือเพื่อนๆ ครอบครัวและชุมชนด้วยการให้ความรู้การบริโภคอย่างเหมาะสม ปลอดภัย
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1) การตรวจสอบคุณภาพที่จำหน่ายภายใน หรือรอบๆ โรงเรียน และตลาดสดหรือชุมชนใกล้เคียงด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น เช่น ชุดทดสอบบอแรกซ์ ฟอร็มาลิน สารกันรา สารฟอกขาว เป็นต้น
2) การให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในรูปแบบต่างๆ เช่น บอร์ดความรู้ เสียงตามสาย พูดหน้าเสาธง กิจกรรม การแสดง รายการทางโทรทัศน์วงจรปิด เป็นต้น
3) รณรงค์ให้ความรู้ในชุมชน เช่น การเดินรณรงค์ การแจกเอกสารความรู้ การให้ความรู้ทางหอกระจายข่าววิทยุชุมชน เป็นต้น
4) การบูรราการความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา อาหาร เครื่องสำอาง เครื่องมือแพทย์ วัตถุอันตราย) เข้าไปกันหลักสูตรการเรียน การสอน
5) อย.ได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อย.น้อย ทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2557)
สามารถ Download ได้ที่ http:// www.oryonoi.com ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ / ใบงาน / แบบประเมินการทำงาน / เกณฑ์การประเมินการทำงาน
6) การขยายความรู้ไปสู่โรงเรียนระดับประถมศึกษา ในลักษณะ “พี่สอนน้อง”
7) การเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพและการโฆษณาที่อาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยต่อตนเอง เพื่อน
8) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี โดยยึดหลัก “บริโภคถูกหลัดโภชนาการปราศจากสารปนเปื้อน” เช่น หลีเลี่ยงอาหารรสจัด (หวาน มัน เค็ม) หลีกเลี่ยงการซื้อหรือใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพตามโฆษณาชวนเชื่อ หลีกเลี่ยงการซื้ออาหารที่ใช้น้ำมันทอดซ้ำ หรือไม่ใช้น้ำมันทอดซ้ำ (นึ่ง อบ ย่าง) อ่านฉลาก อาหาร ยา และเครื่องสำอาง ก่อนซื้อก่อนใช้ บริโภคนม ผัก และผลไม้เป็นประจำ
รู้ทันอันตรายสเตียรอยด์ การใช้ยาปลอดภัยในโรงเรียน ครอบครัว เช่น อาหารสีสันฉูดฉาด อาหารที่ทอดด้วยน้ำมันทอดซ้ำ ของเล่นที่ไม่ปลอดภัย
9) จัดตั้งศูนย์รับแจ้งข้อมูลผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียนหรือ ประชาสัมพันธ์ ผ่านทาง เวปไซด์ Line facebook เป็นต้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2560 13:52 น.