กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ปีงบประมาณ 2561
รหัสโครงการ L61-L5254-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.ทัพหลวง
วันที่อนุมัติ 14 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 60,020.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนเรศดวงยอด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.61,100.833place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรีย นับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐ เอกชนท้องถิ่น ตลอดจนภาคเอกชน พบว่าปัญหาของโรคไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ตำบลคูหาเป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรียมาอย่างต่อเนื่องโดยมีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ในปี 2559 เท่ากับ 1476.01 (168ราย) และ 720.44 (82ราย)ตามลำดับ (ที่มา:จากรายงานการระบาดอำเภอสะบ้าย้อย) ไม่มีผู้ป่วยตายในบ้านคูหา ปและในปี 2560

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตาย ด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรีย


1.00
2 2.เพื่อบริหารจัดการควบคุมแหล่งรังโรคในชุมชน แบบบูรณาการ มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย

 

1.00
3 3.เพื่อให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามเกณฑ์กำหนด

 

1.00
4 4.เพื่อัฒนาทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพที่เข้มแข็และยั่งยืน

 

1.00
5 5.เพื่อควบคุมโรคอุบัติการณ์ซ้ำ และโรคอุติการณ์ใหม่ ที่ทันท่วงที

 

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำโครงการฯ 2.จัดทำคำสั่งพร้อมแต่งตั้งคณะทำงานโครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงพาหะนำโรคฯ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โดยลดลงจากค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง ร้อยละ 10
2.หมู่บ้าน/ชุมชนสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 3.สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย โดยลดลงจากค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง ร้อยละ 5 4.หมู่บ้าน/ชุมชนสามารถควบคุมโรคไข้มาลาเรียได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 5.มีแผนบูรณาการตำบล/อำเภอ ชุมชนเข้มแข็งชุมชน/ตำบลจัดการขยะ 6.สถานบริการ โรงเรียนวัด มัสยิด ครัวเรือน ปลอดลูกน้ำยุงลาย (สุ่มประเมินผล HI CI) -รพ.สต./รร. ค่าCI=0 ไม่น้อยกว่าร้อยละ80 -ศาสนสถานโรงแรม โรงงาน ค่าCI น้อยกว่า 5 -ครัวเรือนค่า BI น้อยกว่า50 7.ทีมภาคีเครือข่าย มีศักยภาพ และความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่เชื้อมาตรการ 3:1:1 ที่มีคุณภาพ เกิดประสิทธิผลในการดำเนินการ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ก.ค. 2561 15:43 น.