กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน ”
ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางดรุณี วิเชียร




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน

ที่อยู่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61 – L7890- 01 - 02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61 – L7890- 01 - 02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,658.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะขาดสารไอโอดีนเป็นภาวะโภชนาการที่เกิดขึ้นกับประชากรทั่วโลกและเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของภาวะปัญญาอ่อนและความเสียหายต่อสมองการได้รับสารไอโอดีนไม่พอของหญิงตั้งครรภ์จะส่งผลให้เกิดความด้อยของสมองในทารกและเด็กรวมทั้งสภาพร่างกายแคระแกร็นและมีความเสี่ยงต่อการแท้งบุตรสูงส่วนเด็กที่ไม่ได้รับสารไอโอดีนเพียงพอจะมีสมองและร่างกายที่เติบโตช้ากว่าปกติ ซึ่งอาจส่งผลทำให้หยุดการเจริญเติบโตและมีส่วนทำให้ไอคิวของเด็กต่ำลง อาการผิดปกติเหล่านี้เป็นสิ่งที่สามารถป้องกันได้ เพื่อขจัดโรคขาดสารไอโอดีนที่ส่งผลต่อการพัฒนาสติปัญญาของเด็กไทยด้วยการส่งเสริมการบริโภคเกลือ ไอโอดีนในระดับชุมชนให้ทุกครัวเรือนได้บริโภคเกลือไอโอดีนที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอ ตามหนังสือจังหวัดสงขลา ด่วนที่สุด ที่ สข 0023.3/ว 3293ลงวันที่14มิถุนายน2561เรื่องขอความร่วมมือในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนอย่างเข็มแข็งและยั่งยืนคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่27สิงหาคม2545กำหนดให้วันที่25มิถุนายนของทุกปีเป็นวันไอโอดีนแห่งชาติเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่9ซึ่งสภานานาชาติเพื่อการควบคุมการขาดสารไอโอดีน(International Council for Control of Iodine Deficiency Disorder,ICCIDD)ได้ทูลเกล้าถวายเหรียญทอง ICCIDD แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และเป็นพระมหากษัตริย์องค์แรกของโลกที่ได้รับรางวัลนี้เมื่อวันที่ 25มิถุนายน 2540 และเพื่อใช้เป็นวันกิจกรรมรวมพลังประสานความร่วมมือร่วมใจจากทุกฝ่ายในการควบคุมและป้องกันโรค ขาดสารไอโอดีนไม่ให้เป็นปัญหาทางสาธารณสุขประกอบกับสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงรับเป็นองค์ประธานกรรมการคณะกรรมการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนแห่งชาติกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นพิจารณาแล้วเพื่อเป็นการสนับสนุนให้มีกิจกรรมรณรงค์ในการป้องกัน โรคขาดสารไอโอดีนอย่างต่อเนื่องโดยของบประมาณจากเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตามหนังสือสั่งการดังกล่าวข้างต้นและเป็นไปตามอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายจัดตั้งของเทศบาลมาตรา 50 (6) ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรมกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการรณรงค์ป้องกันปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนจึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลพะตง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้การบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนแก่ อสม. นักเรียน และประชาชนทั่วไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เดินรณรงค์กระตุ้นการป้องกันการขาดสารไอโอดีน
  2. จัดทำไวนิลประชาสัมพันธ์เรื่องไอโอดีน
  3. จัดทำใบปลิวเรื่องโรคขาดสารไอโอดีน
  4. รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคขาดสารไอโอดีน
  5. อบรมให้ความรู้อสม.เรื่องไอโอดีน
  6. สุ่มตรวจเกลือในครัวเรือน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  7. ค่าเข้าเล่มสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้การบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนแก่ อสม. นักเรียน และประชาชนทั่วไป
ตัวชี้วัด : อสม. นักเรียน ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไอโอดีน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 7200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้การบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนแก่ อสม.  นักเรียน  และประชาชนทั่วไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เดินรณรงค์กระตุ้นการป้องกันการขาดสารไอโอดีน (2) จัดทำไวนิลประชาสัมพันธ์เรื่องไอโอดีน (3) จัดทำใบปลิวเรื่องโรคขาดสารไอโอดีน  (4) รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคขาดสารไอโอดีน (5) อบรมให้ความรู้อสม.เรื่องไอโอดีน (6) สุ่มตรวจเกลือในครัวเรือน โรงเรียน  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (7) ค่าเข้าเล่มสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61 – L7890- 01 - 02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดรุณี วิเชียร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด