กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติกลุ่มเด็กวัยเรียน ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเบตง




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติกลุ่มเด็กวัยเรียน

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติกลุ่มเด็กวัยเรียน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติกลุ่มเด็กวัยเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติกลุ่มเด็กวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพเป็นพื้นฐานสำคัญของการเรียนและการทำกิจกรรมต่างๆ ของเด็ก ซึ่งสุขภาพดีนั้น หมายถึง ความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกาย จิตใจ และอยู่ในสังคมได้อย่างดีมีความสุข เด็กซึ่งอยู่ในวัยที่กำลังเจริญเติบโตและการเรียนรู้ การดูแลและส่งเสริมสุขภาพให้มีความสมบูรณ์ จะทำให้มีสมรรถภาพในการเรียน มีความสามารถเรียนรู้ได้เต็มที่ และร่างกายเจริญเติบโต มีพัฒนาการได้อย่างสมวัย แต่ในทางตรงข้าม หากไม่ดูแลสุขภาพหรือทำกิจกรรมที่มีความเสี่ยงที่ทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ จะทำให้เกิดการเจ็บป่วย เป็นอุปสรรคต่อการดำรงชีวิตประจำวัน สุขบัญญัติเป็นข้อปฏิบัติขั้นพื้นฐานในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน เป็นการสร้างเสริมสุขภาพ และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยไข้เจ็บและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับสุขภาพ สุขบัญญัติจึงเป็นแนวทางการปฏิบัติเพื่อการมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ การเจ็บป่วยและการเกิดปัญหาสุขภาพจะน้อยลง หากทุกคนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ ซึ่งต้องเริ่มปลูกฝังตั้งแต่เด็ก เยาวชนให้มีการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องและปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เป็นสุขนิสัยเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ การดำเนินงานดูแลสุขภาพของเด็กวัยเรียนจำเป็นต้องมีการดำเนินงานควบคู่ทั้งในด้านการแก้ปัญหาสุขภาพเฉพาะประเด็นและการส่งเสริมสุขภาพองค์รวม โดยใช้กลยุทธ์การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ เน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การฝึกทักษะ และจัดปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ เพื่อให้เด็กมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในสถานศึกษามีส่วนสำคัญอย่างยิ่งที่จะส่งเสริมให้เด็ก เยาวชนได้มีการเรียนรู้ กระตุ้นเตือนให้เกิดความตระหนักต่อการให้ความสำคัญและใส่ใจในการดูแลสุขภาพในเรื่องต่างๆ ซึ่งจะส่งผลให้เด็ก เยาวชน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม โดยมีวิธีการและกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งการสอน การจัดปัจจัยแวดล้อม และการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพต่างๆ ซึ่งเป็นการสร้างและพัฒนาขีดความสามารถ ทักษะทางด้านการคิดด้วยปัญญา และทักษะปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ในการเข้าถึง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูลข่าวสารทางสุขภาพและบริการสุขภาพ ที่ได้รับการถ่ายทอดและเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อม ซึ่งทำให้เกิดการจูงใจตนเองให้มีการตัดสินใจเลือกวิถีทางในการดูแลตนเอง จัดการสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันและคงรักษาสุขภาพที่ดีของตนเองไว้ได้อย่างยั่งยืน
ดังนั้น งานสุขศึกษา โรงพยาบาลเบตง ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติกลุ่มเด็กวัยเรียน ซึ่งเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในการมีพฤติกรรมสุขภาพตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ ที่ช่วยให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และปฏิบัติตามแนวทางสุขบัญญัติ ซึ่งจะส่งผลต่อการมีสุขภาพดีและพึงประสงค์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ ๒. เพื่อพัฒนาเครือข่ายนักเรียนแกนนำสร้างเสริมสุขบัญญัติ ๓. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายสถานศึกษาให้มีการดำเนินการเสริมสร้างความรู้ด้านสุขภาพและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. เด็กวัยเรียนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพและทักษะการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ ๒. เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและพึงประสงค์ตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ
    ๓. เครือข่ายสถานศึกษามีการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติในสถานศึกษา


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ค่าเอกสารประกอบการอบรม

    วันที่ 28 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประชุมสำเร็จเรียบร้อย

     

    200 175

    2. ค่าวัสดุอุปกรณ์

    วันที่ 28 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประชุมสำเร็จเรียบร้อย

     

    200 175

    3. ค่าอาหารกลางวัน

    วันที่ 29 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประชุมสำเร็จเรียบร้อย

     

    200 175

    4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

    วันที่ 29 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประชุมสำเร็จเรียบร้อย

     

    200 175

    5. ค่าสื่อประชาสัมพันธ์นิทรรศการไวนิลพร้อมขาตั้ง

    วันที่ 5 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประชุมสำเร็จเรียบร้อย

     

    200 175

    6. ค่าสื่อประชาสัมพันธ์ไวนิล

    วันที่ 5 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประชุมสำเร็จเรียบร้อย

     

    200 175

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. เด็กวัยเรียนมีความรู้ด้าานสุขภาพและทักษะการปฏิบัติตัวในการดุแลสุขภาพตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ
    2. เด้วันเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและพึงประสงค์ตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ
    3. เครือข่ายสถานสึกษามีการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพและพัมนาพฟติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติในสถานศึกษา

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ ๒. เพื่อพัฒนาเครือข่ายนักเรียนแกนนำสร้างเสริมสุขบัญญัติ ๓. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายสถานศึกษาให้มีการดำเนินการเสริมสร้างความรู้ด้านสุขภาพและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ ๒. เพื่อพัฒนาเครือข่ายนักเรียนแกนนำสร้างเสริมสุขบัญญัติ ๓. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายสถานศึกษาให้มีการดำเนินการเสริมสร้างความรู้ด้านสุขภาพและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติกลุ่มเด็กวัยเรียน จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเบตง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด