โครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรคผู้สูงอายุ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรคผู้สูงอายุ ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายทวัฒน์จุลเสวก
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง
มีนาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรคผู้สูงอายุ
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 มีนาคม 2560 ถึง 23 มีนาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรคผู้สูงอายุ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรคผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรคผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 มีนาคม 2560 - 23 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากโครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรคผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ 2559 ทางชุมชน แกรนด์วิลล่าได้ดำเนินการ ในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขสวนน้ำแกรนด์วิลล่า ปรากฏว่าผู้สูงอายุในเขตบริการจำนวน 200 คน ได้มีหนังสือเรียนเชิญมาเข้ารับการอบรมครั้งนี้ ประมาณ 80% - 90% เพราะเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุรับความรู้แนะนำตรวจสุขภาพและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อป้องกันโรคและปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันโดยไม่เกิดอุบัติเหตุได้ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจเป็นอย่างมากโดยสรุปจากวัตถุประสงค์มีความรู้ตระหนักในการป้องกันโรคและการรักษาปฐมภูมิหากมีงบประมาณควรให้โครงการนี้ได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้อีกด้วย
การจัดบริการสาธารณสุขหน่วยงานของรัฐที่ใกล้บ้านสามารถให้บริการด้านสุขภาพของประชาชนทั่วไปด้วยการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ โดยเฉพาะผู้สูงอายุควรจะมีการเสริมความรู้ในการป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุได้ ชุมชนแกรนด์วิลล่ามีส่วนร่วมในการดูแลสังคมเศรษฐกิจที่มีการสำรวจจากความจำเป็นพื้นฐานร้อยละ 80 ในวัยผู้สูงอายุ ต้องการคำแนะนำเพื่อใช้ในการปฏิบัติตัวเองให้อยู่ในสังคมได้
ประชากรในเขตชุมชนแกรนด์วิลล่าประมาณ 834 ครัวเรือน ประชากรชาย931 คน ประชากรหญิง1,570คน รวม2,501คน ซึ่งแต่ละครอบครัวมีหัวหน้าครอบครัวที่เป็นผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป เป้าหมายบุคคลผู้สูงอายุที่เข้าร่วมในโครงการจำนวน 250 คน รวมทั้งในชุมชนและนอกชุมชนที่มีความประสงค์เข้าร่วมโครงการพร้อมทั้งผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาจากโรงพยาบาลเบตงและศูนย์บริการสาธารณสุข ในการนี้ทางชุมชนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการเยี่ยมบ้านและพบผู้ป่วยผู้สูงอายุจึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรค เป็นกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ด้านสุขภาพและการป้องกันโรคเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการบริการสุขภาพอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียมกัน พร้อมทั้งมีวิทยากรประสบการณ์สูงมาบรรยายให้ความรู้ในวัยผู้สูงอายุ การป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายกับตนเอง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค
2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสมรรถภาพและสร้างเสริมสุขภาพระดับ ปฐมภูมิ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
250
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันโรค
- กลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพและสร้างเสริมสุขภาพระดับปฐมภูมิ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค่าอุปกรณ์เครื่องเขียน
วันที่ 30 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันโรค
- กลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพและสร้างเสริมสุขภาพระดับปฐมภูมิ
250
250
2. ค่าป้ายไวนิล จำนวน 3 ผืน
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันโรค
- กลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพและสร้างเสริมสุขภาพระดับปฐมภูมิ
250
0
3. ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าโครงการ
วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันโรค
- กลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดำเนินการรักษาพยาบาลระดับปบมภูมิ
250
250
4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าประชุม
วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันโรค
- กลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดำเนินการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ
250
250
5. ค่าตอบแทนวิทยากร
วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันโรค
- กลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดำเนินการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ
250
250
6. รูปภาพและแผ่นซีดี
วันที่ 26 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันโรค
- กลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพและสร้างเสริมสุขภาพระดับปฐมภูมิ
250
250
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
การบริการสาธารณสุขเป็นหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย ทั้งความรู้และการแนะนำรักษาพยาบาลเบื้องต้นให้กับประชาชนในกลุ่มผู้สูงอายุ พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคในผู้สูงอายุใได้ไปปฏิบัติกับตนเองให้มีสุขภาพดีตลอดไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค
2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสมรรถภาพและสร้างเสริมสุขภาพระดับ ปฐมภูมิ
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันโรค
2. กลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพและสร้างเสริมสุขภาพระดับปฐมภูมิ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
250
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
250
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค
2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสมรรถภาพและสร้างเสริมสุขภาพระดับ ปฐมภูมิ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรคผู้สูงอายุ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายทวัฒน์จุลเสวก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรคผู้สูงอายุ ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายทวัฒน์จุลเสวก
มีนาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 มีนาคม 2560 ถึง 23 มีนาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรคผู้สูงอายุ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรคผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรคผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 มีนาคม 2560 - 23 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากโครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรคผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ 2559 ทางชุมชน แกรนด์วิลล่าได้ดำเนินการ ในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขสวนน้ำแกรนด์วิลล่า ปรากฏว่าผู้สูงอายุในเขตบริการจำนวน 200 คน ได้มีหนังสือเรียนเชิญมาเข้ารับการอบรมครั้งนี้ ประมาณ 80% - 90% เพราะเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุรับความรู้แนะนำตรวจสุขภาพและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อป้องกันโรคและปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันโดยไม่เกิดอุบัติเหตุได้ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจเป็นอย่างมากโดยสรุปจากวัตถุประสงค์มีความรู้ตระหนักในการป้องกันโรคและการรักษาปฐมภูมิหากมีงบประมาณควรให้โครงการนี้ได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้อีกด้วย การจัดบริการสาธารณสุขหน่วยงานของรัฐที่ใกล้บ้านสามารถให้บริการด้านสุขภาพของประชาชนทั่วไปด้วยการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ โดยเฉพาะผู้สูงอายุควรจะมีการเสริมความรู้ในการป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุได้ ชุมชนแกรนด์วิลล่ามีส่วนร่วมในการดูแลสังคมเศรษฐกิจที่มีการสำรวจจากความจำเป็นพื้นฐานร้อยละ 80 ในวัยผู้สูงอายุ ต้องการคำแนะนำเพื่อใช้ในการปฏิบัติตัวเองให้อยู่ในสังคมได้ ประชากรในเขตชุมชนแกรนด์วิลล่าประมาณ 834 ครัวเรือน ประชากรชาย931 คน ประชากรหญิง1,570คน รวม2,501คน ซึ่งแต่ละครอบครัวมีหัวหน้าครอบครัวที่เป็นผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป เป้าหมายบุคคลผู้สูงอายุที่เข้าร่วมในโครงการจำนวน 250 คน รวมทั้งในชุมชนและนอกชุมชนที่มีความประสงค์เข้าร่วมโครงการพร้อมทั้งผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาจากโรงพยาบาลเบตงและศูนย์บริการสาธารณสุข ในการนี้ทางชุมชนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการเยี่ยมบ้านและพบผู้ป่วยผู้สูงอายุจึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรค เป็นกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ด้านสุขภาพและการป้องกันโรคเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการบริการสุขภาพอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียมกัน พร้อมทั้งมีวิทยากรประสบการณ์สูงมาบรรยายให้ความรู้ในวัยผู้สูงอายุ การป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายกับตนเอง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสมรรถภาพและสร้างเสริมสุขภาพระดับ ปฐมภูมิ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 250 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันโรค
- กลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพและสร้างเสริมสุขภาพระดับปฐมภูมิ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค่าอุปกรณ์เครื่องเขียน |
||
วันที่ 30 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
250 | 250 |
2. ค่าป้ายไวนิล จำนวน 3 ผืน |
||
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
250 | 0 |
3. ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าโครงการ |
||
วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
250 | 250 |
4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าประชุม |
||
วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
250 | 250 |
5. ค่าตอบแทนวิทยากร |
||
วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
250 | 250 |
6. รูปภาพและแผ่นซีดี |
||
วันที่ 26 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
250 | 250 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
การบริการสาธารณสุขเป็นหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย ทั้งความรู้และการแนะนำรักษาพยาบาลเบื้องต้นให้กับประชาชนในกลุ่มผู้สูงอายุ พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคในผู้สูงอายุใได้ไปปฏิบัติกับตนเองให้มีสุขภาพดีตลอดไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค
2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสมรรถภาพและสร้างเสริมสุขภาพระดับ ปฐมภูมิ ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันโรค 2. กลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพและสร้างเสริมสุขภาพระดับปฐมภูมิ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 250 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 250 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสมรรถภาพและสร้างเสริมสุขภาพระดับ ปฐมภูมิ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมให้ความรู้แนะนำป้องกันโรคผู้สูงอายุ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายทวัฒน์จุลเสวก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......