กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองกวาง


“ โครงการบริการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ”

ตำบลคลองกวาง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสุรินทร์ ไชยสวนแก้ว ประธานชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านเก่า

ชื่อโครงการ โครงการบริการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลคลองกวาง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5195-2-20 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองกวาง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองกวาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองกวาง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5195-2-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองกวาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุคือมนุษย์ที่อายุอยู่ในช่วงปลายของชีวิตมีช่วงอายุอยู่ระหว่าง 60 ปีขึ้นไปผู้สูงอายุเป็นผู้ที่สั่งสมวิชาความรู้ต่าง ๆ มากมายตลอดชีวิตเมื่ออายุมากขึ้นสภาพร่างกาย จิตใจตลอดจนการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมของผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงไปจากวัยอื่น เนื่องจากมีความเสื่อมของการทำงานระบบต่าง ๆ ทั่วร่างกายโดยเฉพาะระบบประสาท ระบบหัวใจและหลอดเลือดระบบขับถ่าย ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้ มักจะเกิดขึ้นช้า ๆ ในภาวะปกติอวัยวะของระบบต่าง ๆ ยังทำหน้าที่ปกติแต่ในภาวะบีบคั้นไม่ว่าจะเกิดจากอารมณ์หรือทางร่างกาย หรือสังคม จะทำให้ผู้สูงอายุไม่สามารถรักษาภาวะสมดุลของร่างกายไว้ได้ ทำให้อาการผิดปกติ และทำให้เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ง่ายผู้ที่ล่วงเข้าวัยผู้สูงอายุนั้นจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ ทั้งอาหารการกิน ความเป็นอยู่ การรักษาตัว การตรวจสุขภาพ สภาพแวดล้อมที่เป็นอยู่ ที่อยู่อาศัยตลอดการเอาใจใส่ของบุตรหลานเพื่อให้พวกเขาทั้งหลายสามารถดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีภาวะจิตใจร่าเริง สดใสและไม่เป็นภาระของสังคม วัยสูงอายุที่ไม่เพียงแต่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายเท่านั้น แต่มีการเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ อารมณ์และสังคมด้วย ซึ่งผลกระทบทั้งต่อผู้สูงอายุ ลูกหลานและบุคคลใกล้ชิด วัยสูงอายุเป็นวัยของการพัฒนาความมั่นคงทางใจหรือความสิ้นหวังขึ้นอยู่กับพัฒนาการอันเนื่องมาจากวัยก่อนถ้าชีวิตดำเนินมาด้วยความเชื่อมั่นว่าตนได้กระทำสิ่งที่เหมาะสมเป็นประโยชน์ทำให้บุคคลนั้นมีความสงบสุขทั้งกายและจิตใจแต่ถ้าช่วงชีวิตที่ผ่านมาตนไม่รู้สึกประสบความสำเร็จบุคคลนั้นรู้สึกสิ้นหวังท้อแท้เนื่องจากหมดโอกาสที่จะแก้ไขได้อีกทำให้รู้สึกว่าชีวิตปราศจากคุณค่าและสูญเสียศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีมีความรู้สึกความเข้าใจที่มีต่อตนเองในวัยสูงอายุที่ปรากฎและมีการเตรียมตัวช่วยให้เปลี่ยนวัยแห่งการสูญเสียเป็นวัยแห่งโอกาสทำในสิ่งที่ปรารถนาโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม โอกาสพัฒนาส่งเสริมสุขภาพกายและจิต โอกาสเลือกวิถีทางดำรงชีวิตที่เหมาะสมและโอกาสเข้าถึงศาสนามีทัศนคติต่อผู้สูงวัย โดยทั่วไปการจัดบริการด้านสุขภาพอนามัยสำหรับผู้สูงอายุจะมุ่งแก้ปัญหาและสนองความต้องการของผู้สูงอายุ ทุกภาวะสุขภาพ โดยมีเป้าหมายสุขภาพดีและคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีจะสามารถดูแลตนเองได้เป็นอย่างดีแต่ยังคงมีความจำเป็นที่จะได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันความเจ็บป่วยเพื่อดำรงภาวะสุขภาพที่ดีไว้บริการที่จัดให้ผู้สูงอายุในกลุ่มนี้ จะครอบคลุมการให้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัตตัวต่าง ๆ การสนับสนุนส่งเสริมชี้แนะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่าง ๆ จึงได้จัดทำโครงการบริการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 120
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้นและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข
    2. ผู้สูงอายุได้รู้จักวิธีดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
    3. คนในชุมชนเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ
    4. ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุมากขึ้น
    5. ผู้สูงอายุมีโอกาสแสดงความรู้สึกและประสบการณ์ในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง
    6. สมาชิกในครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    • จากการดำเนินโครงการพบว่าผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่ดีและสามารถเข้าถึงการบริหารด้านสาธารณสุขและผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองและสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
    • ผู้สูงอายุมีความสุขเมื่อได้มีการรวมตัวกัน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 120 120
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการบริการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5195-2-20

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุรินทร์ ไชยสวนแก้ว ประธานชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านเก่า )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด