กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการ และการประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลบ้านแป้น อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน
วันที่อนุมัติ 14 ธันวาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 25 กันยายน 2561
งบประมาณ 72,715.53 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลบ้านแป้น อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านแป้น อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน
ละติจูด-ลองจิจูด 18.523,98.951place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2560 30 ก.ย. 2561 72,715.53
รวมงบประมาณ 72,715.53
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 49 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่เทศบาลตำบลบ้านแป้นได้ร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้จัดตั้ง“กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เทศบาลตำบลบ้านแป้น จังหวัดลำพูน”ขึ้น โดยมีหน้าที่    ในการจัดทำข้อมูลและแผนการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมาย และหน่วยบริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องพร้อมทั้งดำเนินการให้ประชาชนในกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ในเขตเทศบาลตำบลบ้านแป้น สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข ทั้งที่บ้าน ในชุมชน หรือหน่วยบริการได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพโดยได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรมการในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส จัดทำสรุปผลการดำเนินงาน และงบดุลเมื่อสิ้นปีงบประมาณ เพื่อเสนอสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติภายในเดือนธันวาคมของทุกปีและรับผิดชอบการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และจัดทำบัญชีระบบหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามแผนงานที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กำหนดนั้น เพื่อให้การดำเนินงานดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลบ้านแป้น ในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบการดำเนินงานของกองทุนฯ จึงได้จัดทำ “โครงการบริหารจัดการและการประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เทศบาลตำบลบ้านแป้น” ประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้การพัฒนางานด้านการบริหารจัดการกองทุนฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  • จำนวนครั้งของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่เข้าร่วมประชุม (จำนวน 3 ครั้ง)
  • ร้อยละของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่เข้าร่วมประชุม (ร้อยละ ๘๐)
  • จำนวนครั้งของการเข้าร่วมประชุม อบรม ศึกษาดูงาน จากหน่วยงานที่จัด
0.00
2 เพื่อให้ไดัรับการตรวจประเมินกองทุนจากคณะกรรมการตรวจประเมินระดับอำเภอ และจังหวัด
  • จำนวนครั้งของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่เข้าร่วมประชุม (จำนวน 3 ครั้ง)
  • ร้อยละของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่เข้าร่วมประชุม (ร้อยละ ๘๐)
  • จำนวนครั้งของการเข้าร่วมประชุม อบรม ศึกษาดูงาน จากหน่วยงานที่จัด
0.00
3 เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ของกองทุนฯ พร้อมทั้งพิจารณาโครงการต่างๆ
  • จำนวนครั้งของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่เข้าร่วมประชุม (จำนวน 3 ครั้ง)
  • ร้อยละของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่เข้าร่วมประชุม (ร้อยละ ๘๐)
  • จำนวนครั้งของการเข้าร่วมประชุม อบรม ศึกษาดูงาน จากหน่วยงานที่จัด
0.00
4 เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานที่รวดเร็ว มีระบบจัดเก็บข้อมูลที่ดี
  • จำนวนครั้งของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่เข้าร่วมประชุม (จำนวน 3 ครั้ง)
  • ร้อยละของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่เข้าร่วมประชุม (ร้อยละ ๘๐)
  • จำนวนครั้งของการเข้าร่วมประชุม อบรม ศึกษาดูงาน จากหน่วยงานที่จัด
0.00
5 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการกองทุนในการประชุม อบรมและศึกษาดูงาน
  • จำนวนครั้งของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่เข้าร่วมประชุม (จำนวน 3 ครั้ง)
  • ร้อยละของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่เข้าร่วมประชุม (ร้อยละ ๘๐)
  • จำนวนครั้งของการเข้าร่วมประชุม อบรม ศึกษาดูงาน จากหน่วยงานที่จัด
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 37,229.50 0 0.00
8 ธ.ค. 60 - 8 ก.ย. 61 ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1 0 0.00 -
13 ธ.ค. 60 - 13 ก.ย. 61 ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 1 0 8,425.00 -
14 ธ.ค. 60 - 14 ก.ย. 61 ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 2 0 9,077.00 -
8 ม.ค. 61 ประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 0 575.00 -
6 ก.พ. 61 ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2 0 3,575.00 -
18 เม.ย. 61 ประชุมอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 2 0 7,395.00 -
19 เม.ย. 61 ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 2 0 7,607.50 -
20 ก.ย. 61 การประเมินผลแบบเสริมพลังกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 0 575.00 -
20 ก.ย. 61 ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 3 0 0.00 -
  1. จัดทำโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณและพิจารณา
  2. จัดการประชุมคณะอนุกรรมการและคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพปีละ 3 ครั้ง
  3. การพัฒนาศักยภาพคณะอนุกรรมการและคณะกรรมการกองทุน โดยการเข้าร่วมประชุม อบรม และศึกษาดูงานจากหน่วยงานที่จัด
  4. การรับการตรวจเยี่ยมประเมินจากคณะกรรมการตรวจประเมินกองทุนระดับอำเภอ ปีละ 1 ครั้ง
  5. ดำเนินการจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ตามโครงการ
  6. การสรุปผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเมื่อสิ้นปังบประมาณ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ทำให้การพัฒนางานด้านการบริหารจัดการกองทุนฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. ทำให้ได้รับการตรวจประเมินกองทุนจากคณะกรรมการตรวจประเมินระดับอำเภอ จังหวัด
  3. ทำให้มีการและเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ของกองทุนฯ พร้อมทั้งพิจารณาโครงการต่างๆ
  4. ทำให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานที่รวดเร็ว มีระบบการจัดเก็บข้อมูลที่ดี
  5. ทำให้คณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการกองทุนมีพัฒนาศักยภาพที่ดียิ่งขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ก.ย. 2561 11:19 น.