กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร


“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเมาะตาโก๊ะ ”

ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางรอพีอะห์ หะยีดอเล๊าะ

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเมาะตาโก๊ะ

ที่อยู่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2477-3-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มิถุนายน 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเมาะตาโก๊ะ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเมาะตาโก๊ะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเมาะตาโก๊ะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2477-3-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มิถุนายน 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,120.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

. หลักการและเหตุผล
สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก ในเขตศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเมาะตาโก๊ะพบผู้ป่วยโรคนี้เป็นระยะ ๆ โดยการป่วยด้วยโรคดังกล่าวนั้นมีอยู่ก่อนแล้วไม่ใช่เป็นโรคที่เกิดขึ้นมาใหม่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เฝ้าระวังการระบาดของโรคนี้แล้วโดยเฉพาะในพื้นที่ใหญ่ ๆ โดยทำความเข้าใจกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหากพบว่ามีเด็กป่วยด้วยโรคนี้ก็ขอให้หยุดเรียนทันทีเพื่อป้องกันการระบาดไปสู่เพื่อนนักเรียนในชั้นเรียนแม้ว่ายังไม่มีรายงานการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคนี้ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลผดุงมาตรก็ตามแต่จากการระบาดและมีการเสียชีวิตของผู้ป่วยในประเทศไทยก็มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการระบาดโรคนี้เป็นโรคที่ติดต่อได้ง่ายเกิดขึ้นกับเด็กเล็กที่ไม่สามารถป้องกันโรคด้วยตัวเองได้ดังนั้นอบต. ในฐานะที่เป็นหน่วยงานมีหน้าที่ในการป้องกันและควบคุมโรคให้แก่ประชาชนในพื้นที่ และเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเมาะตาโก๊ะ ได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกัน โรคมือ เท้า ปาก ประจำปีงบประมาณ2561 ขึ้นมา เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจถึงสถานการณ์ของโรคแต่ละโรคที่ต้องเฝ้าระวังโดยเฉพาะโรคมือ เท้า ปากให้แก่ กลุ่มเป้าหมาย ไม่ให้มีการแพร่ระบาดจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไปสู่ชุมชนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและการป้กงกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเมาะตาโก๊ะ เพื่อให้ครู ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และรวมกันป้องกันควบคุมการเกิดโรค มือ เท้า ปาก ในศุนย์พัฒนาเด้กเล็ก ไม่ให้มีการแพร่ระบาดจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไปสู่ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมอบรมเรื่องโรค มือ เท้า ปาก ให้ความรู้ เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง พ่อ แม่ ผู้ปกครองและเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 39
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 39
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปากมากขึ้น 2. อัตราการป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก ลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อพัฒนาการและสูขภาพของเด็กดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดกิจกรรมอบรมเรื่องโรค มือ เท้า ปาก ให้ความรู้ เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง พ่อ แม่ ผู้ปกครองและเด็ก

วันที่ 25 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมและให้ความรู้เรื่องโรค มือ เท้า ปาก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวฃ้อง พ่อ แม่ ผู้ปกครองและเด็ก รายละเอียดการจัดกิจกรรม 1.กำหนดนโยบายและการจัดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเฃ้าใจในการดูแลรักษาสุฃภาพอนามัยเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปากขึ้น อัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก ลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อพัฒนาการและสุฃภาพของเด็กดีขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินงานโครงการควบคุมและป้องกันโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเมาะตาโก๊ะ ประจำปี พ.ศ.2562 โดยการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคและการล้างมือให้ถูกวิธี ในวันที่ 25 เดือนกรกฏาคม พ.ศ.2562 ซึ่งผู้ได้รับอบรมได้แก่ เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเมาะตาโก๊ะ จำนวน 78 คน ผลการดำเนินงานผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุฃภาพอนามัยเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปากขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและการป้กงกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเมาะตาโก๊ะ เพื่อให้ครู ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และรวมกันป้องกันควบคุมการเกิดโรค มือ เท้า ปาก ในศุนย์พัฒนาเด้กเล็ก ไม่ให้มีการแพร่ระบาดจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไปสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ครูและผู้ปกครอง ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยเกี่ยวกับโรคมือเท้าปากมากขึ้น
39.00 39.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 78 78
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 39 39
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 39 39
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและการป้กงกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเมาะตาโก๊ะ เพื่อให้ครู ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และรวมกันป้องกันควบคุมการเกิดโรค มือ เท้า ปาก ในศุนย์พัฒนาเด้กเล็ก ไม่ให้มีการแพร่ระบาดจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไปสู่ชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมอบรมเรื่องโรค มือ เท้า ปาก ให้ความรู้ เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง พ่อ แม่ ผู้ปกครองและเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเมาะตาโก๊ะ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2477-3-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอพีอะห์ หะยีดอเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด