การพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ...ปี.2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ การพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ...ปี.2560 ”
หมู่ที่ 8 บ้านโคกม่วง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
แวสะมะแอ แวบือซา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ การพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ...ปี.2560
ที่อยู่ หมู่ที่ 8 บ้านโคกม่วง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"การพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ...ปี.2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 8 บ้านโคกม่วง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ...ปี.2560
บทคัดย่อ
โครงการ " การพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ...ปี.2560 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 8 บ้านโคกม่วง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มัสยิด ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางเดินจิตวิญญาณของคนในชุมชน เพราะเป็นสถานที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของประชาชนที่นับถือศาสนาอิสลาม ไว้เพื่อทำการละหมาดเป็นสิ่งชักนำให้ชาวบ้านกับมัสยิดที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเหนียวแน่นและเป็นสัญลักษณ์ทางกายภาพและจิตวิญญาณที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ มัสยิดจึงเป็นสถานที่สำคัญสำหรับ เป็นศูนย์กลางในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน ทั้งในแง่ของการมีผู้นำต้นแบบในการดูแลสุขภาพ มีระบบการช่วยเหลือกันภายในชุมชนในการดูแลสุขภาพ รวมถึงการใช้หลักศาสนาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อสร้างความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ โดยการใช้หลักศาสนาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
- ๒. เพื่อพัฒนามัสยิดให้เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ โดยการใช้หลักศาสนาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
- มัสยิดได้รับการพัฒนาให้เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
วัตถุประสงค์โครงการ
1. เพื่อสร้างความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ โดยการใช้หลักศาสนาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
2. เพื่อพัฒนามัสยิดให้เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดจึงได้จัดกิจกรรมเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้ทำความ
เข้าใจในเกี่ยวกับมัสยิด มีความเกี่ยวข้องกันอย่างไรกับสุขภาพดังนี้
1. ประชุมคณะกรรมการมัสยิด เพื่อชี้แจงการดำเนินงานพัฒนามัสยิดส่งเสริมสุขภาพในวันที่ 19 พฤษภาคม 2560
เนื่องจากมัสยิดเป็นสถานที่มีความสำคัญของประชาชนในพื้นที่มีความเกี่ยวข้องต่อการดำรงชีวิตของประชาชนในหมู่บ้านตั้งแต่เกิดจนตาย ทางชมรมอสม.จึงมองเห็นว่าน่าจะดึงเรื่องสุขภาพให้มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินของคณะกรรมการมัสยิดและเกิดการบูรณาการกับงานอื่นๆให้กลมกลืนกันอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น มัสยิดเป็นสมบัติสาธารณของหมู่บ้าน ประชาชนทุกคนเป็นเจ้าของและมีการบริหารการดำเนินงานโดยคณะกรรมการมัสยิดแต่งตั้งจากประชาชนในพื้นที่ ซึ่งมีโต๊ะอีหม่ามเป็นประธาน ในการบริหารงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับมัสยิดคณะกรรมการดังกล่าวจะมีบทบาทหน้าที่โดยตรงดังนั้นโครงการนี้จึงจำเป็นที่จะต้องจัดประชุมกรรมการมัสยิด เพื่อชี้แจงการดำเนินงานพัฒนามัสยิดส่งเสริมสุขภาพ ให้เข้าใจในทิศทางเดียวกัน
2. ประชุมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน ด้านสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม
จัดอบรมเรื่องสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชนในพื้นที่ทั้งชายและหญิง จำนวน 2 วัน ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2560 และ 2 มิถุนายน 2560
- ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
- การป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
- ถอดบทเรียนสุขาภิบาลครัวเรือน ที่ผ่านมา
- ศาสนากับความสะอาด
2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
/• บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ...............................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........60............................................... คน
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................10,000.................. บาท
1. กิจกรรมการประชุมคณะกรรมการมัสยิด เพื่อชี้แจงการดำเนินงานพัฒนามัสยิดส่งเสริมสุขภาพ
- ค่าอาหารกลางวัน 20 คน x 40 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 800 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 20 คน x 25 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 1,000 บาท
- กิจกรรมการประชุมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน ด้านสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม
- ค่าอาหารกลางวัน 40 คน x 40 บาท x 1 มื้อ x 2 วัน เป็นเงิน 3,200 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน x 25 บาท x 2 มื้อ x 2 วัน เป็นเงิน 4,000 บาท
- ค่าไวนิล เป็นเงิน 1,000 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง .................10,000................. บาท คิดเป็นร้อยละ ......100...............
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .....................-........................... บาท คิดเป็นร้อยละ ........-...................
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
• ไม่มี
/• มี
ปัญหา/อุปสรรค
- อสม.ขาดทักษะ ประสบการณ์ในการดำเนินงานในพื้นที่
แนวทางการแก้ไข
- หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลหนองจิก องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง หรือคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบลตุยงเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน
- การดำเนินงานต้องมีการประสานงานกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการในพื้นที่
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อสร้างความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ โดยการใช้หลักศาสนาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ โดยใช้หลักศาสนาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 80
2
๒. เพื่อพัฒนามัสยิดให้เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : พัฒนาให้เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพระดับดีมาก
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อสร้างความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ โดยการใช้หลักศาสนาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ (2) ๒. เพื่อพัฒนามัสยิดให้เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ...ปี.2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( แวสะมะแอ แวบือซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ การพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ...ปี.2560 ”
หมู่ที่ 8 บ้านโคกม่วง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
แวสะมะแอ แวบือซา
กันยายน 2560
ที่อยู่ หมู่ที่ 8 บ้านโคกม่วง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"การพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ...ปี.2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 8 บ้านโคกม่วง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ...ปี.2560
บทคัดย่อ
โครงการ " การพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ...ปี.2560 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 8 บ้านโคกม่วง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มัสยิด ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางเดินจิตวิญญาณของคนในชุมชน เพราะเป็นสถานที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของประชาชนที่นับถือศาสนาอิสลาม ไว้เพื่อทำการละหมาดเป็นสิ่งชักนำให้ชาวบ้านกับมัสยิดที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเหนียวแน่นและเป็นสัญลักษณ์ทางกายภาพและจิตวิญญาณที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ มัสยิดจึงเป็นสถานที่สำคัญสำหรับ เป็นศูนย์กลางในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน ทั้งในแง่ของการมีผู้นำต้นแบบในการดูแลสุขภาพ มีระบบการช่วยเหลือกันภายในชุมชนในการดูแลสุขภาพ รวมถึงการใช้หลักศาสนาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อสร้างความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ โดยการใช้หลักศาสนาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
- ๒. เพื่อพัฒนามัสยิดให้เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ โดยการใช้หลักศาสนาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
- มัสยิดได้รับการพัฒนาให้เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
วัตถุประสงค์โครงการ
1. เพื่อสร้างความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ โดยการใช้หลักศาสนาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
2. เพื่อพัฒนามัสยิดให้เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดจึงได้จัดกิจกรรมเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้ทำความ
เข้าใจในเกี่ยวกับมัสยิด มีความเกี่ยวข้องกันอย่างไรกับสุขภาพดังนี้
1. ประชุมคณะกรรมการมัสยิด เพื่อชี้แจงการดำเนินงานพัฒนามัสยิดส่งเสริมสุขภาพในวันที่ 19 พฤษภาคม 2560
เนื่องจากมัสยิดเป็นสถานที่มีความสำคัญของประชาชนในพื้นที่มีความเกี่ยวข้องต่อการดำรงชีวิตของประชาชนในหมู่บ้านตั้งแต่เกิดจนตาย ทางชมรมอสม.จึงมองเห็นว่าน่าจะดึงเรื่องสุขภาพให้มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินของคณะกรรมการมัสยิดและเกิดการบูรณาการกับงานอื่นๆให้กลมกลืนกันอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น มัสยิดเป็นสมบัติสาธารณของหมู่บ้าน ประชาชนทุกคนเป็นเจ้าของและมีการบริหารการดำเนินงานโดยคณะกรรมการมัสยิดแต่งตั้งจากประชาชนในพื้นที่ ซึ่งมีโต๊ะอีหม่ามเป็นประธาน ในการบริหารงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับมัสยิดคณะกรรมการดังกล่าวจะมีบทบาทหน้าที่โดยตรงดังนั้นโครงการนี้จึงจำเป็นที่จะต้องจัดประชุมกรรมการมัสยิด เพื่อชี้แจงการดำเนินงานพัฒนามัสยิดส่งเสริมสุขภาพ ให้เข้าใจในทิศทางเดียวกัน
2. ประชุมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน ด้านสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม
จัดอบรมเรื่องสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชนในพื้นที่ทั้งชายและหญิง จำนวน 2 วัน ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2560 และ 2 มิถุนายน 2560
- ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
- การป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
- ถอดบทเรียนสุขาภิบาลครัวเรือน ที่ผ่านมา
- ศาสนากับความสะอาด
2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
/• บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ...............................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........60............................................... คน
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................10,000.................. บาท
1. กิจกรรมการประชุมคณะกรรมการมัสยิด เพื่อชี้แจงการดำเนินงานพัฒนามัสยิดส่งเสริมสุขภาพ
- ค่าอาหารกลางวัน 20 คน x 40 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 800 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 20 คน x 25 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 1,000 บาท
- กิจกรรมการประชุมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน ด้านสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม - ค่าอาหารกลางวัน 40 คน x 40 บาท x 1 มื้อ x 2 วัน เป็นเงิน 3,200 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน x 25 บาท x 2 มื้อ x 2 วัน เป็นเงิน 4,000 บาท - ค่าไวนิล เป็นเงิน 1,000 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง .................10,000................. บาท คิดเป็นร้อยละ ......100............... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .....................-........................... บาท คิดเป็นร้อยละ ........-...................
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
• ไม่มี
/• มี
ปัญหา/อุปสรรค
- อสม.ขาดทักษะ ประสบการณ์ในการดำเนินงานในพื้นที่
แนวทางการแก้ไข - หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลหนองจิก องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง หรือคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบลตุยงเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน
- อสม.ขาดทักษะ ประสบการณ์ในการดำเนินงานในพื้นที่
- การดำเนินงานต้องมีการประสานงานกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการในพื้นที่
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อสร้างความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ โดยการใช้หลักศาสนาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ โดยใช้หลักศาสนาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | ๒. เพื่อพัฒนามัสยิดให้เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ตัวชี้วัด : พัฒนาให้เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพระดับดีมาก |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อสร้างความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ โดยการใช้หลักศาสนาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ (2) ๒. เพื่อพัฒนามัสยิดให้เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
การพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ...ปี.2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( แวสะมะแอ แวบือซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......