โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2562 ”
ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวซูไฮดา กือจิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2562
ที่อยู่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2477-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2477-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาทางทันตสุขภาพเป็นปัญหาที่สำคัญปัญหาหนึ่งของโลก และเป็นปัญหาอันดับต้นๆของประเทศไทยที่ไม่สามารถแก้ไขให้ได้อย่างถาวร เนื่องจากเกิดจากปัจจัยหลายๆอย่างร่วมกัน เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหารรวมถึงลักษณะของอาหารที่มีการเปลี่ยนแปลงจากสมัยก่อนไปมาก พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ทัศนคติ สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในหญิงมีครรภ์และเด็กปฐมวัย ปัญหาสุขภาพช่องปากในหญิงมีครรภ์จากการเป็นโรคปริทันต์จะส่งผลต่อคุณภาพของการตั้งครรภ์และการ คลอดของทารกได้ นอกจากนี้แม่ที่มีฟันผุยังส่งผลต่อการเกิดฟันผุในลูกด้วยโรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1-3 ปีสาเหตุหลักที่ทาให้ เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้องรวมถึงการดูแลทาความสะอาดช่อง ปากไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้ เด็กมีความเจ็บปวดเคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการ
จากผลการดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากและทันตกรรมป้องกันฟันผุในเด็กต่ำกว่า 3 ปีพบว่า โดยเฉลี่ยในเขตตำบลผดุงมาตร ปี 2560 เด็กมีฟันผุ ร้อยละ 11.8 มีภาวะเสี่ยงสูงเรื่องทันตสุขภาพ จำนวน 145 คน คิดเป็นร้อยละ 62.3
จากเหตุดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตร เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กต่ำกว่า 3 ปีตำบลผดุงมาตร ปี 2562 โดยความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตรและกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลผดุงมาตรเพื่อแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพในตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาสต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อให้เด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและฟลูออไรด์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็ก
- ตรวจฟันและทาฟลูออไรด์วานิจ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ปราศจากฟันผุเพิ่มมากขึ้น
๒. ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันให้ลูก มากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ตรวจฟันและทาฟลูออไรด์วานิจ
วันที่ 9 มกราคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.มีการตรวจฟันและทาฟลูออไรด์ทุกวันพุธ
2.มีการตรวจฟันและทาฟลูออไรด์ทุก 6 เดือน ในหมู่บ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมให้บริการตรวจฟันและทาฟลูออไรด์ ในเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้ดำเนินการในปีงบประมาณ 2562 พบว่า เด็กได้รับการตรวจฟันจำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และเด็กได้รับการทาฟลูออไรด์ จำนวน 148 คน คิดเป็นร้อยละ 74 บรรลุตามตัวชี้วัด
0
0
2. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็ก
วันที่ 14 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.สำรวจและเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมอบรม
2.จัดอบรมตามวันและเวลาที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จากผลการดำเนินงานพบว่า ผู้ปกครองได้รับการอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพในเด็กต่ำกว่า 3 ปี จำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100
- การดำเนินกิจกรรม ตรวจฟันและทาฟลูออไรด์ ในเด็กต่ำกว่า 3 ปี ตามกลุ่มเป้าหมาย 200 คน ได้ดำเนินกิจกรรมตลอดทั้งปีงบประมาณ พบว่าเด็กได้รับการตรวจฟันจำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และเด็กได้รับการทาฟลูออไรด์ จำนวน 148 คน คิดเป็นร้อยละ 74
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑.๑. กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครอง เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี พบว่า ผู้ปกครองได้รับการอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพในเด็กต่ำกว่า 3 ปี จำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100บรรลุตามตัวชี้วัด
๑.๒ กิจกรรมให้บริการตรวจฟันและทาฟลูออไรด์ ในเด็กต่ำกว่า ๓ ปี ได้ดำเนินการในปีงบประมาณ ๒๕๖๑2 พบว่า เด็กได้รับการตรวจฟันจำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และเด็กได้รับการทาฟลูออไรด์ จำนวน 148 คน คิดเป็นร้อยละ 74 บรรลุตามตัวชี้วัด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.เพื่อให้เด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและฟลูออไรด์
ตัวชี้วัด : เด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและฟลูออไรด์ ร้อยละ 65
130.00
148.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
200
200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้เด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและฟลูออไรด์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็ก (2) ตรวจฟันและทาฟลูออไรด์วานิจ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2562 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2477-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวซูไฮดา กือจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2562 ”
ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวซูไฮดา กือจิ
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2477-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2477-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาทางทันตสุขภาพเป็นปัญหาที่สำคัญปัญหาหนึ่งของโลก และเป็นปัญหาอันดับต้นๆของประเทศไทยที่ไม่สามารถแก้ไขให้ได้อย่างถาวร เนื่องจากเกิดจากปัจจัยหลายๆอย่างร่วมกัน เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหารรวมถึงลักษณะของอาหารที่มีการเปลี่ยนแปลงจากสมัยก่อนไปมาก พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ทัศนคติ สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในหญิงมีครรภ์และเด็กปฐมวัย ปัญหาสุขภาพช่องปากในหญิงมีครรภ์จากการเป็นโรคปริทันต์จะส่งผลต่อคุณภาพของการตั้งครรภ์และการ คลอดของทารกได้ นอกจากนี้แม่ที่มีฟันผุยังส่งผลต่อการเกิดฟันผุในลูกด้วยโรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1-3 ปีสาเหตุหลักที่ทาให้ เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้องรวมถึงการดูแลทาความสะอาดช่อง ปากไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้ เด็กมีความเจ็บปวดเคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการ
จากผลการดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากและทันตกรรมป้องกันฟันผุในเด็กต่ำกว่า 3 ปีพบว่า โดยเฉลี่ยในเขตตำบลผดุงมาตร ปี 2560 เด็กมีฟันผุ ร้อยละ 11.8 มีภาวะเสี่ยงสูงเรื่องทันตสุขภาพ จำนวน 145 คน คิดเป็นร้อยละ 62.3
จากเหตุดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตร เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กต่ำกว่า 3 ปีตำบลผดุงมาตร ปี 2562 โดยความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตรและกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลผดุงมาตรเพื่อแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพในตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาสต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อให้เด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและฟลูออไรด์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็ก
- ตรวจฟันและทาฟลูออไรด์วานิจ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 200 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ปราศจากฟันผุเพิ่มมากขึ้น ๒. ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันให้ลูก มากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ตรวจฟันและทาฟลูออไรด์วานิจ |
||
วันที่ 9 มกราคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.มีการตรวจฟันและทาฟลูออไรด์ทุกวันพุธ 2.มีการตรวจฟันและทาฟลูออไรด์ทุก 6 เดือน ในหมู่บ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมให้บริการตรวจฟันและทาฟลูออไรด์ ในเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้ดำเนินการในปีงบประมาณ 2562 พบว่า เด็กได้รับการตรวจฟันจำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และเด็กได้รับการทาฟลูออไรด์ จำนวน 148 คน คิดเป็นร้อยละ 74 บรรลุตามตัวชี้วัด
|
0 | 0 |
2. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็ก |
||
วันที่ 14 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.สำรวจและเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมอบรม 2.จัดอบรมตามวันและเวลาที่กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- การดำเนินกิจกรรม ตรวจฟันและทาฟลูออไรด์ ในเด็กต่ำกว่า 3 ปี ตามกลุ่มเป้าหมาย 200 คน ได้ดำเนินกิจกรรมตลอดทั้งปีงบประมาณ พบว่าเด็กได้รับการตรวจฟันจำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และเด็กได้รับการทาฟลูออไรด์ จำนวน 148 คน คิดเป็นร้อยละ 74
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑.๑. กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครอง เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี พบว่า ผู้ปกครองได้รับการอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพในเด็กต่ำกว่า 3 ปี จำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100บรรลุตามตัวชี้วัด ๑.๒ กิจกรรมให้บริการตรวจฟันและทาฟลูออไรด์ ในเด็กต่ำกว่า ๓ ปี ได้ดำเนินการในปีงบประมาณ ๒๕๖๑2 พบว่า เด็กได้รับการตรวจฟันจำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และเด็กได้รับการทาฟลูออไรด์ จำนวน 148 คน คิดเป็นร้อยละ 74 บรรลุตามตัวชี้วัด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อให้เด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและฟลูออไรด์ ตัวชี้วัด : เด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและฟลูออไรด์ ร้อยละ 65 |
130.00 | 148.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | 200 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 200 | 200 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้เด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและฟลูออไรด์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็ก (2) ตรวจฟันและทาฟลูออไรด์วานิจ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2562 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2477-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวซูไฮดา กือจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......