โครงการสร้างสุขภาพ เด็ก 0-4 ปี ห่างไกลโรคติดต่อด้วยวัคซีน ปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างสุขภาพ เด็ก 0-4 ปี ห่างไกลโรคติดต่อด้วยวัคซีน ปี 2560 ”
อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการสร้างสุขภาพ เด็ก 0-4 ปี ห่างไกลโรคติดต่อด้วยวัคซีน ปี 2560
ที่อยู่ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L6895-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างสุขภาพ เด็ก 0-4 ปี ห่างไกลโรคติดต่อด้วยวัคซีน ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างสุขภาพ เด็ก 0-4 ปี ห่างไกลโรคติดต่อด้วยวัคซีน ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างสุขภาพ เด็ก 0-4 ปี ห่างไกลโรคติดต่อด้วยวัคซีน ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L6895-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัคซีนเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและความคุ้มทุนมากที่สุดชนิดหนึ่ง ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพของประชาชนทั่วโลกประเทศไทยใช้วัคซีนเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอย่างเป็นระบบและกว้างขวางมาตั้งแต่ปี 2520 ด้วยการจัดตั้งแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มีวัตถุประสงค์เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราตายด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยการใช้วัคซีนเป็นเครื่องมือในการป้องกันควบคุมโรคแก่ประชากรกลุ่มเป้าหมายและผสมผสานเข้ากับงานบริการสาธารณสุขในระบบปกติ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาได้มีการพัฒนาและปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยมีการเพิ่มชนิดของวัคซีนให้มากขึ้น เพื่อป้องกันโรคที่สำคัญ จนปัจจุบันมีวัคซีนทั้งหมดรวม 11 ชนิด รวมทั้งเพิ่มกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้ประชากรไทยมีภูมิคุ้มกันต่อโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในระดับที่สูงอย่างต่อเนื่อง
จากรายงานกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่า ปี 2558 เด็ก 0- 4 ปี ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ดังนี้ อัตราป่วยโรคหัด 10.81 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยโรคคอตีบ 0.31 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยโรคคางทูม 24.38 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยโรคไอกรน 1.16 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยโรคโปลิโอ ไม่พบ อัตราป่วยโรคบาดทะยัก 0.03 ต่อประชากรแสนคน เทศบาลเมืองกันตัง เห็นความสำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรคติดต่อด้วยวัคซีนแก่เด็กอายุ 0-4 ปีให้ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนด อันจะเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้เด็กไทยห่างไกลจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และเป็นกำลังสำคัญที่จะร่วมกันพัฒนาประเทศไทยให้เข้มแข็งสืบไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็ก 0 - 4 ปี ในเขตเทศบาลได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและสามารถเป็นเครือข่าย ในการสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมายในชุมชนเรื่องความจำเป็นการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์
- เพื่อลดอัตราการป่วยและการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
329
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กอายุ 0 - 4 ปีในเขตเทศบาลได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ร้อยละ 90
- แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและเป็น
เครือข่ายในการสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมายในชุมชนเรื่องความจำเป็น
การได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์
- อัตราการป่วยและการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนลดลงในระดับหนึ่ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ให้บริการวัคซีนแก่เด็กอายุ 0-4 ปี ในสถานบริการและในชุมชน
วันที่ 12 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ติดตามเด็ก 0-4 ปีที่ไม่มารับวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวน 137 ราย ทั้งทางโทรศัพท์และทางไปรษณียบัตร
- ให้บริการวัคซีนเด็ก 0-4 ปี ตามเกณฑ์ ทุกวันพุธสัปดาห์ที่ 2 และ 4 ของเดือน ซึ่งมีผู้ได้รับบริการตั้งแต่เดือน เม.ย. 60 - ส.ค. 60 จำนวน 334 ราย
329
334
2. อบรมแกนนำสุขภาพในชุมชน
วันที่ 26 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดอบรมให้ความรู้แก้แกนนำสุขภาพในชุมชน จำนวน 100 คน ในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และสามารถเป็นเครือข่ายในการสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมายในชุมชน เรื่องความจำเป็นการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ พร้อมทั้งประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม
100
100
3. สำรวจกลุ่มเป้าหมาย/ติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-4 ปี
วันที่ 26 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้จำนวนกลุ่มเป้าหมายและเด็ก 0-4 ปี ได้ติดตามให้มารับวัคซีนตามเกณฑ์
329
329
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- จัดอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพในชุมชน จำนวน 100 คน เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจใน เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และสามารถเป็นเครือข่ายในการสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมายในชุมชน เรื่องความจำเป็นการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ เมื่อวันที่ 26 เมาายน 2560 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ซึ่งมีการดำเนินกิจกรรมดังนี้ มีการทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม ผลการทดสอบมีดังนี้ ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรม ก่อนและหลังการอบรม ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่อง วัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็ก๐-๔ ปี อาการและการดูแลเด็กภายหลังการได้รับวัคซีน การติดตามกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการบริการกรณีผิดนัด เป็นต้น สามารถสรุปผลการประเมินได้ตามตารางด้านล่าง ดังนี้
- ก่อนการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 89 ชุด
- หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 85 ชุด
คะแนน ก่อนการอบรม หลังการอบรม
จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ
10 11 12.36 20 23.53
9 9 10.11 18 21.18
8 12 13.48 20 23.53
7 18 20.22 15 17.65
6 10 11.23 9 10.59
5 14 15.73 3 3.53
4 7 7.86 - -
3 6 6.74 - -
2 2 2.25 - -
1 - - - -
0 - - - -
รวม 89 100 85 100
2. สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานตามโครงการดังกล่าว เป็นเงิน จำนวน 15,083 บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันแปดสิบสามบาทถ้วน) ดังรายละเอียดนี้
- ค่าวิทยากร เป็นเงิน 1,800 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าเอกสารประกอบการอบรม เป็นเงิน 1,000 บาท
- ค่าป้ายโครงการ/ป้ายประชาสัมพันธ์ เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์/อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 4,283 บาท
3. ติดตามเด็ก 0-4 ปีที่ไม่มารับวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวน 137 ราย ทั้งทางโทรศัพท์และส่งทางไปรษณียบัตร
4. ให้บริการวัคซีนเด็ก 0-4 ปีตามเกณฑ์ทุกวันพุธสัปดาห์ที่ 2 และ 4 ของเดือน พร้อมบริการให้วัคซีนเด็ก 0-4 ปี ในชุมชนหลาโป และชุมชนหลังสโมสรเก่า
5. รายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็ก 0 - 4 ปี ในเขตเทศบาลได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามเกณฑ์ในเด็ก 0-4 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2
เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและสามารถเป็นเครือข่าย ในการสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมายในชุมชนเรื่องความจำเป็นการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อลดอัตราการป่วยและการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยและการระบาดของโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนลดลง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
329
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
329
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก 0 - 4 ปี ในเขตเทศบาลได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ (2) เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและสามารถเป็นเครือข่าย ในการสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมายในชุมชนเรื่องความจำเป็นการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ (3) เพื่อลดอัตราการป่วยและการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างสุขภาพ เด็ก 0-4 ปี ห่างไกลโรคติดต่อด้วยวัคซีน ปี 2560 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L6895-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างสุขภาพ เด็ก 0-4 ปี ห่างไกลโรคติดต่อด้วยวัคซีน ปี 2560 ”
อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ
กันยายน 2560
ที่อยู่ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L6895-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างสุขภาพ เด็ก 0-4 ปี ห่างไกลโรคติดต่อด้วยวัคซีน ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างสุขภาพ เด็ก 0-4 ปี ห่างไกลโรคติดต่อด้วยวัคซีน ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างสุขภาพ เด็ก 0-4 ปี ห่างไกลโรคติดต่อด้วยวัคซีน ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L6895-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัคซีนเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและความคุ้มทุนมากที่สุดชนิดหนึ่ง ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพของประชาชนทั่วโลกประเทศไทยใช้วัคซีนเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอย่างเป็นระบบและกว้างขวางมาตั้งแต่ปี 2520 ด้วยการจัดตั้งแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มีวัตถุประสงค์เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราตายด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยการใช้วัคซีนเป็นเครื่องมือในการป้องกันควบคุมโรคแก่ประชากรกลุ่มเป้าหมายและผสมผสานเข้ากับงานบริการสาธารณสุขในระบบปกติ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาได้มีการพัฒนาและปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยมีการเพิ่มชนิดของวัคซีนให้มากขึ้น เพื่อป้องกันโรคที่สำคัญ จนปัจจุบันมีวัคซีนทั้งหมดรวม 11 ชนิด รวมทั้งเพิ่มกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้ประชากรไทยมีภูมิคุ้มกันต่อโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในระดับที่สูงอย่างต่อเนื่อง จากรายงานกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่า ปี 2558 เด็ก 0- 4 ปี ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ดังนี้ อัตราป่วยโรคหัด 10.81 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยโรคคอตีบ 0.31 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยโรคคางทูม 24.38 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยโรคไอกรน 1.16 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยโรคโปลิโอ ไม่พบ อัตราป่วยโรคบาดทะยัก 0.03 ต่อประชากรแสนคน เทศบาลเมืองกันตัง เห็นความสำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรคติดต่อด้วยวัคซีนแก่เด็กอายุ 0-4 ปีให้ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนด อันจะเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้เด็กไทยห่างไกลจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และเป็นกำลังสำคัญที่จะร่วมกันพัฒนาประเทศไทยให้เข้มแข็งสืบไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็ก 0 - 4 ปี ในเขตเทศบาลได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและสามารถเป็นเครือข่าย ในการสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมายในชุมชนเรื่องความจำเป็นการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์
- เพื่อลดอัตราการป่วยและการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 329 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กอายุ 0 - 4 ปีในเขตเทศบาลได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ร้อยละ 90
- แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและเป็น
เครือข่ายในการสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมายในชุมชนเรื่องความจำเป็น
การได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ - อัตราการป่วยและการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนลดลงในระดับหนึ่ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ให้บริการวัคซีนแก่เด็กอายุ 0-4 ปี ในสถานบริการและในชุมชน |
||
วันที่ 12 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
329 | 334 |
2. อบรมแกนนำสุขภาพในชุมชน |
||
วันที่ 26 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดอบรมให้ความรู้แก้แกนนำสุขภาพในชุมชน จำนวน 100 คน ในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และสามารถเป็นเครือข่ายในการสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมายในชุมชน เรื่องความจำเป็นการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ พร้อมทั้งประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม
|
100 | 100 |
3. สำรวจกลุ่มเป้าหมาย/ติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-4 ปี |
||
วันที่ 26 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้จำนวนกลุ่มเป้าหมายและเด็ก 0-4 ปี ได้ติดตามให้มารับวัคซีนตามเกณฑ์
|
329 | 329 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- จัดอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพในชุมชน จำนวน 100 คน เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจใน เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และสามารถเป็นเครือข่ายในการสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมายในชุมชน เรื่องความจำเป็นการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ เมื่อวันที่ 26 เมาายน 2560 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ซึ่งมีการดำเนินกิจกรรมดังนี้ มีการทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม ผลการทดสอบมีดังนี้ ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรม ก่อนและหลังการอบรม ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่อง วัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็ก๐-๔ ปี อาการและการดูแลเด็กภายหลังการได้รับวัคซีน การติดตามกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการบริการกรณีผิดนัด เป็นต้น สามารถสรุปผลการประเมินได้ตามตารางด้านล่าง ดังนี้
- ก่อนการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 89 ชุด
- หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 85 ชุด
คะแนน ก่อนการอบรม หลังการอบรม
จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ
10 11 12.36 20 23.53
9 9 10.11 18 21.18
8 12 13.48 20 23.53
7 18 20.22 15 17.65
6 10 11.23 9 10.59
5 14 15.73 3 3.53
4 7 7.86 - -
3 6 6.74 - -
2 2 2.25 - -
1 - - - -
0 - - - -
รวม 89 100 85 100
2. สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานตามโครงการดังกล่าว เป็นเงิน จำนวน 15,083 บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันแปดสิบสามบาทถ้วน) ดังรายละเอียดนี้
- ค่าวิทยากร เป็นเงิน 1,800 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าเอกสารประกอบการอบรม เป็นเงิน 1,000 บาท
- ค่าป้ายโครงการ/ป้ายประชาสัมพันธ์ เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์/อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 4,283 บาท
3. ติดตามเด็ก 0-4 ปีที่ไม่มารับวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวน 137 ราย ทั้งทางโทรศัพท์และส่งทางไปรษณียบัตร
4. ให้บริการวัคซีนเด็ก 0-4 ปีตามเกณฑ์ทุกวันพุธสัปดาห์ที่ 2 และ 4 ของเดือน พร้อมบริการให้วัคซีนเด็ก 0-4 ปี ในชุมชนหลาโป และชุมชนหลังสโมสรเก่า
5. รายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็ก 0 - 4 ปี ในเขตเทศบาลได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามเกณฑ์ในเด็ก 0-4 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 |
|
|||
2 | เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและสามารถเป็นเครือข่าย ในการสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมายในชุมชนเรื่องความจำเป็นการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อลดอัตราการป่วยและการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน ตัวชี้วัด : อัตราป่วยและการระบาดของโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนลดลง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 329 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 329 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก 0 - 4 ปี ในเขตเทศบาลได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ (2) เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและสามารถเป็นเครือข่าย ในการสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมายในชุมชนเรื่องความจำเป็นการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ (3) เพื่อลดอัตราการป่วยและการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างสุขภาพ เด็ก 0-4 ปี ห่างไกลโรคติดต่อด้วยวัคซีน ปี 2560 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L6895-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......