กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2560 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสุพรรณนิกาลีลาสำราญ

ชื่อโครงการ โครงการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L6895-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 ตุลาคม 2559 ถึง 31 มกราคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L6895-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 ตุลาคม 2559 - 31 มกราคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานเป็นหนึ่งในโรคเรื้อรังที่บั่นทอนคุณภาพชีวิตและคร่าชีวิตมนุษย์มากที่สุดโรคหนึ่งสำหรับประเทศไทยแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตด้วยเบาหวานปีละ 2 หมื่นคน จากสถิติตั้งแต่ 1 ม.ค. 2555 – 31 ธ.ค.2558จังหวัดตรัง พบผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน จำนวน 2,263 ราย คิดเป็นอัตราตายร้อยละ4.49 ต่อประชากรพันคนมีอัตราตายสูงสุดในปี พ.ศ. 2558ร้อยละ1.39 จำนวน 701 ราย (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง : ระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง,2559) แสดงว่าโรคเบาหวานมีแนวโน้มสูงมากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มมีความชุกค่อนข้างสูง และนำไปสู่การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เรื้อรังหรือรุนแรงได้ อาทิเช่น ภาวะหลอดเลือดตีบแข็งความดันโลหิตสูงจอประสาทตาเสื่อมไตวายโรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือดร่วมกับเป็นแผลเรื้อรัง ติดเชื้อได้ง่าย ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความพิการหลายประการ ได้แก่ ตาบอด หรือ ถูกตัดขา ซึ่งปัญหาภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ สามารถส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม รวมทั้งปัญหาทางเศรษฐกิจของครอบครัวหากผู้ป่วย/ครอบครัวไม่มีความเข้าใจในโรคที่ผู้ป่วยกำลังเผชิญอยู่ ร่วมกับให้การดูแลผู้ป่วยไม่ถูกต้อง ปัญหาด้านต่างๆที่กล่าวมารวมถึงภาวะแทรกซ้อนก็อาจเกิดขึ้นได้ หากไม่สามารถควบคุมภาวะแทรกซ้อนให้อยู่ในภาวะปกติได้ ก็ส่งผลให้เกิดปัญหาที่เรื้อรังต่อไป จากผลการดำเนินงานโครงการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวานในปี 2559 ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองกันตัง มีผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนจำนวน 171 คน พบผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางตาจำนวน 2 รายและมีภาวะแทรกซ้อนทางเท้าจำนวน 1 ราย ดังนั้นทางศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน จึงได้จัดโครงการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวานขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานทุกรายต้องได้รับการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต และเท้า

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองและสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้า
  2. เพื่อตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
  3. เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนและส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลตนเองป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้าได้
    2. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้า
    3. สามารถแก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนและส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย/ตรวจคัดกรองตา เท้า สุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน

    วันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ลงทะเบียน โดย เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารสุข เทศบาลเมืองกันตัง
    2. บรรยายเรื่อง การดูแลเท้า/การบริหารเท้าในผู้ป่วยเบาหวานโดย วิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
    3. บรรยายเรื่องการดูแลตนเองและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานโดย วิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
    4. แบ่งกลุ่มเข้าฐานตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน โดย ทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
      • ฐานที่ 1 ตรวจประเมินสุขภาพช่องปาก
      • ฐานที่ 2 ตรวจประเมินเท้า
      • ฐานที่ 3 ตรวจคัดกรองจอประสาทตาด้วยเครื่อง Fundus Camera

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา/เท้าและได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก/ฟันจำนวน140ราย
    2. ผู้ป่วยเบาหวานที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

     

    150 140

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จัดอบรมให้ความรู้  พร้อมตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก/ฟัน ตรวจจอประสาทตา และตรวจประเมินเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในเขตเทศบาลเมืองกันตัง  เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง  ลดภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้า  และทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นในระดับหนึ่ง  เมื่อวันที่  14  พฤศจิกายน  2559  ณ  อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง  โดยมีผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ  ดังนี้ 1. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลตนเองและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งมีผู้เข้าร่วมอบรม  จำนวน  140  ราย  โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง 2. แบ่งกลุ่มเข้าตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน  จำนวน  4  กลุ่ม  โดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง  คือ 2.1  ตรวจวัดสายตาเบื้องต้นโดยการตรวจ VA แก่ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ  ซึ่งมีผู้ได้รับการตรวจ จำนวน  140 ราย 2.2  ตรวจประเมินสุขภาพช่องปาก  เพื่อคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางปริทันต์  โดยการตรวจสุขภาพช่องปาก/ตรวจฟัน  และให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพช่องปาก  ซึ่งมีผู้ได้รับการตรวจ  จำนวน  140  ราย  ผลการตรวจพบว่า1)  ปกติ/ไม่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก  จำนวน  124  ราย
    2)  ผิดปกติ (พบภาวะแทรกซ้อนทางปริทันต์) จำนวน    16  ราย
    3)  มีปัญหาสุขภาพช่องปาก/ฟัน
    - เหงือกอักเสบ ร้อยละ 53.57 - ฟันผุ ร้อยละ 44.28 4)  ส่งต่อโรงพยาบาลกันตัง จำนวน    10  ราย 2.3  ตรวจประเมินเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ตามแบบฟอร์มการตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวาน  ซึ่งมีการตรวจประเมินเท้า ประเมินชีพจรเส้นเลือดแดง การประเมินประสาทความรู้สึกด้วย Monofilament การตรวจปัญหาที่เล็บ/เท้า การตรวจสีผิวหนัง เป็นต้น จำนวน  140  ราย  ผลการตรวจประเมินเท้าพบว่า 1)  ปกติ จำนวน  133  ราย  (ร้อยละ  95) 2)  ผิดปกติ  จำนวน   7  ราย  (ร้อยละ 5) -  เท้าผิดรูป  จำนวน    3  ราย -  มีหนังแข็งที่เท้า จำนวน    1  ราย -  เท้าชาทั้ง 2 ข้าง จำนวน    2  ราย -  ประวัติตัดนิ้วเท้า จำนวน    1  ราย 3) ส่งต่อโรงพยาบาลกันตัง จำนวน   1  ราย
        2.4  ตรวจคัดกรองจอประสาทตาด้วยเครื่อง Fundus  camera  ซึ่งมีผู้ป่วยเข้ารับการตรวจคัดกรอง  จำนวน  140  ราย  ผลการตรวจคัดกรอง  พบว่า 1)  ไม่มีภาวะแทรกซ้อนทางตา จำนวน  134 ราย 2)  พบภาวะแทรกซ้อนที่จอประสาทตา  จำนวน      6 ราย 3)  ตาต้อกระจก จำนวน    6 ราย 4)  ส่งต่อเพื่อรักษา จำนวน   7 ราย 3. ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่ได้รับการตรวจคัดกรอง  แนะนำ/นัดตรวจที่โรงพยาบาลกันตัง ในวันที่  21  พฤศจิกายน  2559  เวลา 13.00 น. - 15.00 น.  ณ  โรงพยาบาลกันตัง  เพื่อให้ได้รับการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนต่อไป
    4. สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน  จำนวน  29,103.-  บาท  ดังนี้ - ค่าตอบแทนวิทยากร เป็นเงิน 7,800  บาท - ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน 9,800  บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  เป็นเงิน 8,400  บาท - ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 1,303  บาท - ค่าป้ายประชาสัมพันธ์  เป็นเงิน      300 บาท - ค่าเอกสาร เป็นเงิน 1,500 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองและสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้า
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานท่ีขึ้นทะเบียนสามารถดุแลตนเองไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทางตาเท้าในการตรวจครั้งถัดไป

     

    2 เพื่อตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานท่ีขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัดกรองตา เท้า ร้อยละ90

     

    3 เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนและส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ100ของผู้ป่วยเบาหวานท่ีขึ้นทะเบียนและตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองและสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้า (2) เพื่อตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน (3) เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนและส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2560 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L6895-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุพรรณนิกาลีลาสำราญ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด