กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการเทศบาลเมืองกันตัง ร่วมใจดูแลผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว ปี 2562 ”

เทศบาลเมืองกันตัง ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ

ชื่อโครงการ โครงการเทศบาลเมืองกันตัง ร่วมใจดูแลผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว ปี 2562

ที่อยู่ เทศบาลเมืองกันตัง ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L6895-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเทศบาลเมืองกันตัง ร่วมใจดูแลผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว ปี 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองกันตัง ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเทศบาลเมืองกันตัง ร่วมใจดูแลผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชน ได้รับความรู้ มีเข้าใจในการดูแลผู้พิการทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว (2) เพื่อให้ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข  ได้รับการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (3) เพื่อเสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันในการดำรงชีวิตของคนพิการ/ทุพลภาพทางการเคลื่อนไหว (4) เพื่อให้เกิดเครือข่ายอาสาสมัครดูแลผู้พิการในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมเยี่ยมบ้าน/ฟื้นฟูสมรรถภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534  มาตรา 4 ได้ให้ความหมายของคนพิการว่า  เป็นคนที่มีความผิดปกติหรือบกพร่องทางร่างกาย ทางสติปัญญาหรือทางจิตใจตามประเภทและหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎกระทรวง  และการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ หมายความว่า การเสริมสร้างสมรรถภาพ หรือการเสริมสร้างความสามารถของคนพิการให้มีสภาพที่ดีขึ้น โดยอาศัยวิธีทางการแพทย์ ทางการศึกษา ทางสังคม  และการฝึกอาชีพเพื่อให้คนพิการได้มีโอกาสทำงาน หรือดำรงชีวิตในสังคมทัดเทียมคนปกติ มาตรา 15 ให้คนพิการที่ได้รับการจดทะเบียนตามมาตรา 14 ได้รับการสงเคราะห์ การพัฒนาและการฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยวิธีทางการแพทย์ และค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ค่าอุปกรณ์เพื่อปรับสภาพทางร่างกาย  ทางสติปัญญา หรือทางจิตใจ หรือเสริมสร้างสมรรถภาพให้ดีขึ้นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชนเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการโดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมีส่วนร่วม เนื่องจากความพิการทางร่างกายและทางจิตส่งผลต่อคุณภาพชีวิตทำให้ผู้พิการ/ทุพพลภาพไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติ ไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางการแพทย์ทำให้ขาดการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้พิการ/ทุพพลภาพรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล ในเขตเทศบาลเมืองกันตังมีจำนวนบ้านในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบทั้งหมด 4,729 หลังคาเรือน จำนวนประชากรทั้งหมด 12,389 คน ผู้พิการทั้งหมด 202 ราย แบ่งตามประเภทความพิการ คือ ทางกาย/การเคลื่อนไหว 96 ราย ทางสติปัญญา 15 ราย ทางการเรียนรู้ 4 ราย ทางการได้ยิน 27 ราย ทางจิต 29 ราย ทางการมองเห็น 23 ราย ออทิสติก 1 ราย  และพิการซ้ำซ้อน 7 ราย มีผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวจำนวนหนึ่งไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ต้องมีผู้ดูแล  ซึ่งผู้ดูแลประจำส่วนใหญ่ไม่ได้รับการฝึกทักษะในการดูแลที่ถูกต้อง  และบางครั้งผู้พิการ/ทุพพลภาพถูกทอดทิ้งอยู่ตามลำพัง  จึงทำให้ผู้พิการ/ทุพพลภาพมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย เช่น กล้ามเนื้อลีบ ข้อติด แผลกดทับ เป็นต้น จากสภาพปัญหาดังกล่าว ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง เห็นความสำคัญ จึงจัดโครงการเทศบาลเมืองกันตัง ร่วมใจดูแลผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว ปี 2562 ขึ้น เพื่อให้ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข ได้รับการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และต่อเนื่อง อันจะมีผลทำให้คุณภาพชีวิตของผู้พิการ/ทุพพลภาพดีขึ้นได้ในระดับหนึ่ง รวมทั้งญาติหรือผู้ดูแลมีส่วนร่วมพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ/ทุพพลภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชน ได้รับความรู้ มีเข้าใจในการดูแลผู้พิการทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว
  2. เพื่อให้ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข ได้รับการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  3. เพื่อเสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันในการดำรงชีวิตของคนพิการ/ทุพลภาพทางการเคลื่อนไหว
  4. เพื่อให้เกิดเครือข่ายอาสาสมัครดูแลผู้พิการในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมเยี่ยมบ้าน/ฟื้นฟูสมรรถภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 24
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำสุขภาพในชุมชน ได้รับความรู้ และมีเข้าใจในการดูแลผู้พิการทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้น
  2. ผู้พิการ/ทุพพลภาพได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพตามศักยภาพ สามารถดำรงชีวิตได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีในระดับหนึ่ง โดยญาติหรือผู้ดูแลมีส่วนร่วม
  3. ผู้พิการ/ทุพพลภาพได้รับการเยี่ยมบ้านเชิงรุกเป็นการกระตุ้นและสร้างขวัญกำลังใจให้คนพิการ/ทุพพลภาพรู้สึกถึงคุณค่าในตัวเอง มีกำลังใจในการดำเนินชีวิต
  4. ผู้พิการ/ทุพพลภาพได้รับการเสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันที่สำคัญในการดำรงชีวิต
  5. เกิดเครือข่ายอาสาสมัครดูแลผู้พิการในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเยี่ยมบ้าน/ฟื้นฟูสมรรถภาพ

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ประสานงานกับทีมนักกายภาพบำบัด/อาสาดูแลผู้พิการในการลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน
  • กำหนด/จัดทำแผนการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว
  • ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมเยี่ยมบ้าน/ฟื้นฟูสมรรถภาพ  โดยได้ดำเนินการดังนี้
1.ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน/ฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวในชุมชน  จำนวน  24  ราย  โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและนักกายภาพบำบัดจากโรงพยาบาลกันตัง  ร่วมลงพื้นที่ประเมิน/ติดตามการดูแลผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว  โดยมีรายชื่อผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว ที่ได้รับการเยี่ยมดังนี้ 1). นายโกวิท  ว่องวิริยะสกุล  (อายุ 72 ปี)   บ้านเลขที่  62  ถ.คลองภาษี 2). นายสมนึก  ศรีดวง  (อายุ 62 ปี)  บ้านเลขที่  48 ถ.กิตติคุณ
3). นางมาลี    คงเมคา  (อายุ 66  ปี)  บ้านเลขที่  31/2  ถ.กิตติคุณ 4). นางพิกุล    สร้อยทอง  (อายุ 77 ปี)  บ้านเลขที่  1/9  ถ.กิตติคุณ
5). น.ส. นิตยา  พุ่มพฤกษา  (อายุ 54 ปี)  บ้านเลขที่  22  ถ.หลัง รร.คลองภาษี 6). นางนารี  บัวเพชร  (อายุ  70 ปี)  บ้านเลขที่  111  ซ.1 ถ.รถไฟ 7). นางนลินรัตน์  นิ่มแนบ  (อายุ 56 ปี) บ้านเลขที่  89  ถ.รถไฟ 8). น.ส. อุไร  โตบุญ  (อายุ 77  ปี)  บ้านเลขที่  3/14 ถ.รถไฟ 9). นางกิ้มหั้ว  แซ่สอ  (อายุ 77  ปี)  บ้านเลขที่  40/12  ถ.รถไฟ 10). รตท. สมาน  บวชเหตุ  (อายุ 77 ปี)  บ้านเลขที่  32/4  ถ.รถไฟ 11). นางซกเกี้ยง    เศรษฐวรพันธุ์   (อายุ 85 ปี)  บ้านเลขที่  20  ถ.ตรังคภูมิ 12). นางจันทรา  หาญภักดี  (อายุ 65 ปี)  บ้านเลขที่  119/9  ถ.ตรังคภูมิ 13). นางสุวรรณี  จารุวิทยากุล  (อายุ 73 ปี)  บ้านเลขที่  19  ซ.1 ถ.เขื่อนเพชร 14). แม่ชีพร้อม  กันตังกุล  (อายุ  84  ปี)  บ้านเลขที่  9 ซ.1 ถ.เขื่อนเพชร 15). น.ส. สุภา  สิมสิงห์ (อายุ  59 ปี)  บ้านเลขที่  58/6  ถ.ค่ายพิทักษ์ 16). นายช่วย  อินทสุวรรณ  (อายุ  67 ปี) บ้านเลขที่  58/6  ถ.ค่ายพิทักษ์ 17). นายรวิสุต  แซ่อึ่ง  (อายุ 15 ปี)  บ้านเลขที่  163/17 ถ.สถลสถานพิทักษ์ 18). นายพรษิวิชย์  สิริพรรณ์  (อายุ  62 ปี)  บ้านเลขที่  69  ถ.หน้าค่าย 19). นายเปรม  เกลี้ยงจิตร  (อายุ  80 ปี)  บ้านเลขที่  31  ถ.ควนทองสี 20). นายสุเทพ  ชูแก้ว  (อายุ 56 ปี)  บ้านเลขที่  49/3  ถ.ควนทองสี 21). นางปราณี  สุระบำ  (อายุ 53 ปี)  บ้านเลขที่  62/8  ถ.ควนทองสี 22). นายเฉลิมพล  กันตังกุล  (อายุ 80 ปี)   บ้านเลขที่  288/29  ถ.ตรังคภูมิ 23). นายณัฐวิโรจน์  อภิวัตรมงคล  (อายุ  79  ปี)  บ้านเลขที่  81-83  ถ.รัษฎาอุทิศ 2 24). นายถนอม  มัธยมบุรุษ  (อายุ 67 ปี)  บ้านเลขที่  34  ถ.หลัง รร.คลองภาษี 2. ผลการประเมิน/ติดตามการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวที่บ้านก่อน-หลังการฟื้นฟูสมรรถภาพ  ตามแบบประเมินกิจวัตรประจำวัน  (BARTHEL ACTIVITY OF DAILY LIVING SCALE)  ดังนี้  ซึ่งจากการประเมินกิจวัตรประจำวันหลังการฟื้นฟูสมรรถภาพ  พบว่า  ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวส่วนใหญ่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ในระดับมาก  คิดเป็นร้อยละ  29.17  รองลงมา  คือ  ทํากิจวัตรประจําวันได้เองในระดับปานกลาง  คิดเป็นร้อยละ  25  ทํากิจวัตรประจําวันได้อย่างปกติ/มากที่สุด  คิดเป็นร้อยละ  20.83  ไม่สามารถทํากิจวัตรประจําวันได้เองต้องการความช่วยเหลืออย่างมาก  คิดเป็นร้อยละ 16.67 และไม่สามารถทํากิจวัตรประจําวันได้เองต้องการความช่วยเหลืออย่างมากที่สุด  คิดเป็นร้อยละ  8.33
3. ผลการประเมินหลังการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยนักกายภาพบำบัด  พบว่า  ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว  มีกำลังกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น หรือ ดีขึ้น  จำนวน  16 ราย คิดเป็นร้อยละ  66.67  และมีกำลังกล้ามเนื้อคงที่หรือเท่าเดิม  จำนวน  8  ราย  คิดเป็นร้อยละ  33.33

 

24 0

2. อบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน/ประเมินความรู้ก่อนอบรม
  • บรรยายเรื่อง หลักการและประโยชน์ของการฝึกกิจวัตรประจำวัน (ADL) ของผู้พิการ/ทุพพลภาพ
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายเรื่อง หลักการและประโยชน์ของการฟื้นฟู้สมรรถภาพเบื้องต้น
  • พักรับประทานอาหารกลางวัน
  • บรรยายพร้อมสาธิตและฝึกปฏิบัติแบ่งผู้เข้ารับการอบรมเป็น 2 ฐาน     - ฐานที่ 1 เรื่อง การฟื้นฟูสมรรรถภาพ/การฝึกทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่-มัดเล็ก/การพลิกตะแคงตัวผู้พิการ     - ฐานที่ 2 เรื่อง การใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ เช่น Wheel Chair, Walker, ไม้เท้าชนิด 1 ปุ่ม  3 ปุ่ม
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • ตอบข้อซักถาม/สรุปผลการเรียนรู้/ประเมินวามรู้หลังอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครดูแลผู้พิการ จำนวน  60  คน แต่มีผู้เข้ารับการอบรมจำนวน  61  คน  เมื่อวันที่ 30  กรกฎาคม  2562 ณ อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง  ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับหลักการและประโยชน์ของการฝึกกิจวัตรประจำวัน  หลักการและประโยชน์ของการฟื้นฟูสมรรถภาพเบื้องต้น  บรรยายพร้อมสาธิตและฝึกปฏิบัติ  เรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพ /การฝึกทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่/มัดเล็ก  การใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ  และการจัดสภาพแวดล้อมภายในบ้าน    โดยนักกายภาพบำบัดจากโรงพยาบาลกันตัง
    2.  ทดสอบความรู้ก่อน-หลังเข้ารับการอบรม  ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่อง การดูแลและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ (คำถามแบบกากบาทถูกผิดหน้าข้อความ จำนวน  10 ข้อๆ ละ 1 คะแนน  รวมคะแนนเต็ม 10 คะแนน) สามารถสรุปผลการประเมินได้  ดังนี้ - ก่อนการอบรม  ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 60 ชุด พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่ 9 คะแนน จำนวน 2 คน รองลงมาคือ 8 คะแนน จำนวน 14 คน 7 คะแนน จำนวน 20  คน  6  คะแนน จำนวน 16  คน 5 คะแนน  จำนวน  8  คน  จะเห็นได้ว่าก่อนการอบรมผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ได้รับคะแนน  7  คะแนนมากที่สุด  คิดเป็นร้อยละ  33.33  รองลงมาคือ  6 คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  26.67  ,  8  คะแนน คิดเป็นร้อยละ 23.33 ,  5 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 13.33  และ 9 คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  3.33  ตามลำดับ - หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 52 ชุด พบว่าผู้เข้าอบรมได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่  8 คะแนน จำนวน 24 คน รองลงมาคือ 7 คะแนน จำนวน  10 คน  9 คะแนน  จำนวน 8 คน  6  คะแนน จำนวน 7 คน 10  คะแนนเต็ม จำนวน 3 คน และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่ 6 คะแนน จำนวน 7 คน  จะเห็นได้ว่าหลังการอบรมผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ได้รับคะแนน 8 คะแนนมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 46.15  รองลงมาคือ 7 คะแนน  คิดเป็นร้อยละ 19.23 , 9 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 15.38 , 6 คะแนน  คิดเป็นร้อยละ 13.46 , และ 10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 5.77  ตามลำดับ

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครดูแลผู้พิการ จำนวน 60 คน แต่มีผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 61 คน เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2562 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับหลักการและประโยชนของการฝกกิจวัตรประจำวัน หลักการและประโยชนของการฟนฟูสมรรถภาพเบื้องต้น บรรยายพร้อมสาธิตและฝึกปฏิบัติ เรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพ /การฝึกทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่/มัดเล็ก การใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการจัดสภาพแวดล้อมภายในบ้าน  โดยนักกายภาพบำบัดจากโรงพยาบาลกันตัง
  2. ทดสอบความรู้ก่อน-หลังเข้ารับการอบรม  ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่อง การดูแลและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ (คำถามแบบกากบาทถูกผิดหน้าข้อความ จำนวน 10 ข้อๆ ละ 1 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 10 คะแนน) สามารถสรุปผลการประเมินได้ ดังนี้
    • ก่อนการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 60 ชุด พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่ 9 คะแนน จำนวน 2 คน รองลงมาคือ 8 คะแนน จำนวน 14 คน 7 คะแนน จำนวน 20 คน 6 คะแนน จำนวน 16 คน 5 คะแนน จำนวน 8 คน จะเห็นได้ว่าก่อนการอบรมผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ได้รับคะแนน 7 คะแนนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 33.33  รองลงมาคือ 6 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 26.67 , 8 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 23.33 , 5 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 13.33 และ 9 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 3.33  ตามลำดับ
    • หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 52 ชุด พบว่าผู้เข้าอบรมได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่ 8 คะแนน จำนวน 24 คน รองลงมาคือ 7 คะแนน จำนวน 10 คน  9 คะแนน จำนวน 8 คน 6 คะแนน จำนวน 7 คน 10 คะแนนเต็ม จำนวน 3 คน และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่ 6 คะแนน จำนวน 7 คน จะเห็นได้ว่าหลังการอบรมผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ได้รับคะแนน 8 คะแนนมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 46.15 รองลงมาคือ 7 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 19.23 , 9 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 15.38 , 6 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 13.46 , และ 10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 5.77 ตามลำดับ
  3. กิจกรรมเยี่ยมบ้าน/ฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยได้ดำเนินการดังนี้
    3.1 ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน/ฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวในชุมชน จำนวน 24 ราย โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและนักกายภาพบำบัดจากโรงพยาบาลกันตัง ร่วมลงพื้นที่ประเมิน/ติดตามการดูแลผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว โดยมีรายชื่อผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว ที่ได้รับการเยี่ยมดังนี้ 1). นายโกวิท ว่องวิริยะสกุล (อายุ 72 ปี)  บ้านเลขที่ 62 ถ.คลองภาษี
    2). นายสมนึก ศรีดวง (อายุ 62 ปี) บ้านเลขที่ 48 ถ.กิตติคุณ
    3). นางมาลี  คงเมคา (อายุ 66 ปี) บ้านเลขที่ 31/2 ถ.กิตติคุณ
    4). นางพิกุล  สร้อยทอง (อายุ 77 ปี) บ้านเลขที่ 1/9 ถ.กิตติคุณ
    5). น.ส. นิตยา พุ่มพฤกษา (อายุ 54 ปี) บ้านเลขที่ 22 ถ.หลัง รร.คลองภาษี 6). นางนารี บัวเพชร (อายุ 70 ปี) บ้านเลขที่ 111 ซ.1 ถ.รถไฟ 7). นางนลินรัตน์  นิ่มแนบ (อายุ 56 ปี) บ้านเลขที่ 89 ถ.รถไฟ 8). น.ส. อุไร โตบุญ (อายุ 77 ปี) บ้านเลขที่ 3/14 ถ.รถไฟ 9). นางกิ้มหั้ว แซ่สอ (อายุ 77 ปี) บ้านเลขที่ 40/12 ถ.รถไฟ 10). รตท. สมาน บวชเหตุ (อายุ 77 ปี) บ้านเลขที่ 32/4 ถ.รถไฟ 11). นางซกเกี้ยง  เศรษฐวรพันธุ์  (อายุ 85 ปี) บ้านเลขที่ 20 ถ.ตรังคภูมิ 12). นางจันทรา หาญภักดี (อายุ 65 ปี) บ้านเลขที่ 119/9 ถ.ตรังคภูมิ 13). นางสุวรรณี จารุวิทยากุล (อายุ 73 ปี) บ้านเลขที่ 19 ซ.1 ถ.เขื่อนเพชร 14). แม่ชีพร้อม กันตังกุล (อายุ 84 ปี) บ้านเลขที่ 9 ซ.1 ถ.เขื่อนเพชร 15). น.ส. สุภา สิมสิงห์ (อายุ 59 ปี) บ้านเลขที่ 58/6 ถ.ค่ายพิทักษ์ 16). นายช่วย อินทสุวรรณ (อายุ 67 ปี) บ้านเลขที่ 58/6 ถ.ค่ายพิทักษ์ 17). นายรวิสุต แซ่อึ่ง (อายุ 15 ปี) บ้านเลขที่ 163/17 ถ.สถลสถานพิทักษ์ 18). นายพรษิวิชย์ สิริพรรณ์ (อายุ 62 ปี) บ้านเลขที่ 69 ถ.หน้าค่าย 19). นายเปรม เกลี้ยงจิตร (อายุ 80 ปี) บ้านเลขที่ 31 ถ.ควนทองสี 20). นายสุเทพ  ชูแก้ว (อายุ 56 ปี) บ้านเลขที่ 49/3 ถ.ควนทองสี 21). นางปราณี  สุระบำ (อายุ 53 ปี) บ้านเลขที่ 62/8 ถ.ควนทองสี 22). นายเฉลิมพล กันตังกุล (อายุ 80 ปี)  บ้านเลขที่ 288/29 ถ.ตรังคภูมิ 23). นายณัฐวิโรจน์ อภิวัตรมงคล (อายุ 79 ปี) บ้านเลขที่ 81-83 ถ.รัษฎาอุทิศ 2 24). นายถนอม มัธยมบุรุษ (อายุ 67 ปี) บ้านเลขที่ 34 ถ.หลัง รร.คลองภาษี 3.2 ผลการประเมิน/ติดตามการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวที่บ้านก่อน-หลังการฟื้นฟูสมรรถภาพ ตามแบบประเมินกิจวัตรประจำวัน (BARTHEL ACTIVITY OF DAILY LIVING SCALE) ดังนี้ ซึ่งจากการประเมินกิจวัตรประจำวันหลังการฟื้นฟูสมรรถภาพ พบว่า ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวส่วนใหญ่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 29.17 รองลงมา คือ ทํากิจวัตรประจําวันได้เองในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 25 ทํากิจวัตรประจําวันได้อย่างปกติ/มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 20.83 ไม่สามารถทํากิจวัตรประจําวันได้เองต้องการความช่วยเหลืออย่างมาก คิดเป็นร้อยละ 16.67 และไม่สามารถทํากิจวัตรประจําวันได้เองต้องการความช่วยเหลืออย่างมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 8.33
    3.3. ผลการประเมินหลังการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยนักกายภาพบำบัด พบว่า ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว มีกำลังกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น หรือ ดีขึ้น จำนวน 16 ราย คิดเป็นร้อยละ 66.67 และมีกำลังกล้ามเนื้อคงที่หรือเท่าเดิม จำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 33.33
    1. สรุปค่าใช้จ่ายตามโครงการ เป็นเงินจำนวนทั้งสิ้น 20,300.- บาท รายละเอียดดังนี้ 4.1 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เป็นเงินจำนวน 15,200.- บาท ดังนี้

- ค่าตอบแทนวิทยากร  เป็นเงิน  5,400 บาท - ค่าอาหารกลางวัน  เป็นเงิน  4,200 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  เป็นเงิน  3,600 บาท - ค่าเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมิน เป็นเงิน    720 บาท - ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน    300 บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์/อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน    980 บาท 4.2 กิจกรรมเยี่ยมบ้าน/ฟื้นฟูสมรรถภาพ เป็นเงินจำนวน 5,100.- บาท ดังนี้ - ค่าตอบแทนนักกายภาพบำบัดฯ เป็นเงิน 3,600  บาท - ค่าเอกสาร/วัสดุอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 1,500  บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชน ได้รับความรู้ มีเข้าใจในการดูแลผู้พิการทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว
ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพชุมชนที่เข้ารับการอบรม ร้อยละ 80 มีความรู้/ทักษะในการดูแลผู้พิการทุพพลภาพ
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข ได้รับการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อเสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันในการดำรงชีวิตของคนพิการ/ทุพลภาพทางการเคลื่อนไหว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพที่บ้านโดยอาสาสมัครดูแลผู้พิการ
0.00

 

4 เพื่อให้เกิดเครือข่ายอาสาสมัครดูแลผู้พิการในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีอาสาสมัครดูแลผู้พิการในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 24 24
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 24 24
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชน ได้รับความรู้ มีเข้าใจในการดูแลผู้พิการทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว (2) เพื่อให้ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข  ได้รับการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (3) เพื่อเสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันในการดำรงชีวิตของคนพิการ/ทุพลภาพทางการเคลื่อนไหว (4) เพื่อให้เกิดเครือข่ายอาสาสมัครดูแลผู้พิการในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมเยี่ยมบ้าน/ฟื้นฟูสมรรถภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเทศบาลเมืองกันตัง ร่วมใจดูแลผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว ปี 2562 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L6895-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด