กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมวิถีสุขภาพของชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ป้องกันโรค
รหัสโครงการ 60-L5254-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลคูหา
วันที่อนุมัติ 20 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 13 มีนาคม 2560 -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 50,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุดสวาทสังข์น้อย
พี่เลี้ยงโครงการ องค์การบริหารส่วนตำบลคูหา
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.61,100.833place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อการส่งเสริมป้องกันโรค (Health Promotion)ในประชาขนทุกกลุ่มอายุ และมุ่งเน้นในกลุ่มผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้ และช่วยเหลือตนเองไม่ได้

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เข้าสังคมและพบปะเพื่อนฝูง

 

3 เพื่อเปิดพื้นที่ให้ผู้สูงอายุได้แสดงออกถึงศักยภาพ สร้างคุณภาพค่าให้ตัวเอง

 

4 เพื่ออนุรักษ์อาหารไทย/พืชสมุนไพรท้องถิ่นที่สามารถป้องกันและรักษาสุขภาพ

 

5 เพื่อบูรณาการการดูแลร่วมกับภาคีเครือข่าย

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.)ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อรับทราบแนวทางการปฎิบัติ 2.)เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 3.)แต่งตั้งคณะทำงาน 4.)จัดกิจกรรมเข้าฐาน 5.)สรุปผลและรายงานให้กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คูหา

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.)ประชาชนทุกกลุ่มวัยในพื้นที่ตำบลคูหาตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนวิถีการดำรงชีพ โดยเฉพาะการบริโภคที่ช่วยลดภาวะการเกิดโรคเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิต 2.)ประชาชนกลุ่มสูงอายุได้ความรู้ และตระหนักถึงคุณค่าในตนเองส่งผลต่อสุขภาพจิตที่ดี 3.)ชุมชนตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในการร่วมกันดูแลสุขภาพของชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 มี.ค. 2560 10:07 น.