กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของชาวกะรุบี ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายหมะมุ ซาหะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของชาวกะรุบี

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L2971-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของชาวกะรุบี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของชาวกะรุบี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของชาวกะรุบี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L2971-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) ฉบับนี้ มีเป้าหมายทำงานเชิงรุก และ ต้องลงมือปฏิบัติ เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และสมประโยชน์ มีพฤติกรรมการบริโภคยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง เพื่อให้สังคมมีสุขภาพดี พัฒนาผู้บริโภคให้มีศักยภาพ เพื่อการพึ่งพาตนเองได้ในการบริโภคยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำหรับประเทศไทยมีปัญหาจากการใช้ยาอยู่มาก ไม่ว่าจะเป็นการไม่ใช้ยาตามแพทย์สั่ง การเกิดอาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา การสั่งยาที่มีปฏิกิริยาต่อกัน การสั่งใช้ยาซ้ำซ้อน ขนาดยาที่แพทย์สั่งใช้ต่ำหรือสูงเกินไป นอกจากนี้ยังมีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า ผู้ป่วยยังขาดความรู้และมีพฤติกรรมการใช้ยาที่ไม่ถูกต้อง โดย 1 ใน 4 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังใช้ยาไม่ต่อเนื่อง และคิดว่าผู้ที่เป็นโรคเดียวกัน เช่น เบาหวาน / ความดันโลหิตสูงสามารถแบ่งกินกันได้ กว่าร้อยละ 80 ไม่สามารถอ่านวันหมดอายุได้ ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาขณะใช้ยา ในระดับครัวเรือนพบยาเหลือใช้จำนวนมาก ภก.ภาณุโชติ ทองยัง ชมรมเภสัชชนบท ได้ทำการศึกษาและตีพิมพ์ในจดหมายข่าวศูนย์ข้อมูลเฝ้าระวังระบบยา “ยาวิพากษ์” ฉบับที่ 17 ของเมษายน-มิถุนายน 2556 พบว่าได้มีการสุ่มเก็บข้อมูลทั่วประเทศเมื่อปี2553 พบยาอันตรายหลายรายการที่เหลือใช้อยู่ตามบ้านเรือน เช่น ยา Amoxycillin ยา Tetracycline และยากลุ่ม NSAIDs นอกจากนี้ ยังพบยาที่มีความเสี่ยงในทุกครัวเรือน ได้แก่ ยาแผนโบราณที่ไม่มีทะเบียนต่างๆ แต่มีการบรรยายสรรพคุณโอ้อวดเกินจริง เช่น ลดความอ้วน เบาหวาน ไขมัน รวมไปถึงยังมียาลูกกลอน ที่ทดสอบแล้วพบสารสเตียรอยด์ ยาชุดหลายรายการ นอกจากนี้ยังพบอีกว่า ประชาชนมีความรู้จำกัด หรือ มีความรู้ไม่ถูกต้องในการเลือกซื้อและใช้ยา ไม่เห็นด้านที่เป็นอันตรายต่อการใช้ยา มีกระบวนการตัดสินใจที่ซับซ้อนโดยได้รับอิทธิพลจากแหล่งข้อมูลที่เสี่ยงต่อการส่งเสริมให้มีการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม เช่น ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้าน และข้อมูลจากการโฆษณา มีการใช้ยาตามวัฒนธรรมความเชื่อเดิมที่มักก่อให้เกิดการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม เช่น เชื่อมโยงความแรงของยากับยี่ห้อ รูปแบบยา และแหล่งที่มาของยา มีการพลิกแพลงวิธีใช้ยาตามตรรกะที่คิดขึ้นเอง หรือใช้ยาตามประสบการณ์ และ คำบอกเล่า พฤติกรรมการใช้ยาของประชาชน คือภาพสะท้อนของพฤติกรรมของระบบความไม่สมเหตุสมผลที่ปรากฏในพฤติกรรมของประชาชน จึงเป็นภาพสะท้อนของความไม่สมเหตุสมผลของระบบยาทั้งระบบ ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะ
1.ระบบการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ ยังเน้นการใช้ยาเป็นทางออกหลักในการแก้ปัญหา ยังขาดการส่งเสริมการบำบัดรักษาความเจ็บป่วยที่ไม่ต้องพึ่งยา หรือแม้กระทั่งขาดการเน้นพิษภัยของยาให้เป็นที่ตระหนักในวงการวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุข 2.ระบบยาของประเทศไทยยังมีความฟุ่มเฟือย มีการใช้ยาไม่จำเป็น แม้กระทั่งในระบบโรงพยาบาลของรัฐบาล ระบบยาและการใช้ยาที่เป็นอยู่มีผลประโยชน์ทางธุรกิจเป็นแรงขับเคลื่อนหลักของระบบ 3. ระบบเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ผลิตความเหลื่อมล้ำให้เกิดขึ้นในสังคม ปัญหาความทุกข์ยาก ของประชาชนถูกแปลงโฉมจนกลายเป็นเรื่องที่ต้องใช้เทคโนโลยีของการแพทย์มาเยียวยารักษา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็งร่วมกับงานคุ้มครองผู้บริโภคและงานบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลร่วมกับประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยการจัดกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ที่สอดคล้องกับบริบทของประชาชน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดความปลอดภัย และ ความต่อเนื่องของการให้บริการประชาชนมีสุขภาพดี และมีดุลยภาพที่พอดีระหว่างการพึ่งตนเองกับพึ่งบริการ มุ่งเน้นการส่งเสริมความร่วมมือของผู้ป่วย ครอบครัว และ ชุมชน ในการวางแผนการใช้ยาที่เหมาะสม และ สมเหตุสมผล เพื่อให้ได้ผลประโยชน์จากการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
ดังนั้นในฐานะโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็งเป็นส่วนหนึ่งของงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชกรรมปฐมภูมิ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็ง ได้เล็งเห็นปัญหาของการขาดการส่งต่อความรู้เดิมและความรู้ใหม่ๆ เรื่องโรคและยาแก่ประชาชน จึงได้จัดทำโครงการ อบรมและพัฒนาความรู้เรื่องโรค และ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลแก่ประชาชน เพื่อควบคุม หรือรักษาได้ด้วยการดูแลปฏิบัติตนเองอย่างถูกต้อง เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ข้อมูลที่ถูกต้องเรื่องหลักการใช้ยาอย่างถูกวิธี
  2. เพื่อสร้างความตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคยาที่ถูกต้อง
  3. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและคุณภาพในด้านยาของประชาชน
  4. เพื่อให้ประชาชนเข้าใจถึงการดูแลตนเองเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยารวมถึงการป้องกันปัญหาจากการใช้ยา
  5. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจถึงหลักการเลือกใช้สมุนไพรให้ปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 13
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 47
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความปลอดภัยในการใช้ยา และ สามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันและลดปัญหาที่เกิดจากการใช้ยา
  2. ประชาชนเพื่อให้เข้าใจสถานการณ์ปัญหา และผลกระทบของการใช้ยาที่ไม่สมเหตุสมผล
  3. ประชาชนเข้าใจถึงการดูแลตนเอง และ ครอบครัว เมื่อมีปัญหาจากการใช้ยา
  4. ประชาชนเข้าใจถึงหลักการเลือกสมุนไพรให้ปลอดภัยความเข้าใจและได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเรื่องหลักการใช้ยา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้

วันที่ 12 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ชี้แจง/ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมายทราบ เพื่อเข้าร่วมโครงการ 2.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ 3.รายงานผลการดำเนินงาน 4.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.  ประชาชนมีความปลอดภัยในการใช้ยา และ สามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันและลดปัญหาที่เกิดจากการใช้ยา           2.  ประชาชนเพื่อให้เข้าใจสถานการณ์ปัญหา และผลกระทบของการใช้ยาที่ไม่สมเหตุสมผล           3.  ประชาชนเข้าใจถึงการดูแลตนเอง และ ครอบครัว เมื่อมีปัญหาจากการใช้ยา           4.  ประชาชนเข้าใจถึงหลักการเลือกสมุนไพรให้ปลอดภัยความเข้าใจและได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเรื่องหลักการใช้ยา

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ข้อมูลที่ถูกต้องเรื่องหลักการใช้ยาอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : สามารถสร้างความเข้าใจและให้ข้อมูลที่ถูกต้องเรื่องหลักการใช้ยาอย่างถูกวิธีเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00 80.00

 

2 เพื่อสร้างความตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคยาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สามารถสร้างความตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคยาที่ถูกต้องเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00 80.00

 

3 เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและคุณภาพในด้านยาของประชาชน
ตัวชี้วัด : สามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งและคุณภาพในด้านยาของประชาชนเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00 80.00

 

4 เพื่อให้ประชาชนเข้าใจถึงการดูแลตนเองเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยารวมถึงการป้องกันปัญหาจากการใช้ยา
ตัวชี้วัด : ประชาชนเข้าใจถึงการดูแลตนเองเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยารวมถึงการป้องกันปัญหาจากการใช้ยาเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00 80.00

 

5 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจถึงหลักการเลือกใช้สมุนไพรให้ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจถึงหลักการเลือกใช้สมุนไพรให้ปลอดภัยเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 13 13
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 47 47
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ข้อมูลที่ถูกต้องเรื่องหลักการใช้ยาอย่างถูกวิธี (2) เพื่อสร้างความตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคยาที่ถูกต้อง (3) เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและคุณภาพในด้านยาของประชาชน (4) เพื่อให้ประชาชนเข้าใจถึงการดูแลตนเองเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยารวมถึงการป้องกันปัญหาจากการใช้ยา (5) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจถึงหลักการเลือกใช้สมุนไพรให้ปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของชาวกะรุบี

รหัสโครงการ 62-L2971-1-03 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของชาวกะรุบี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L2971-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายหมะมุ ซาหะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด